ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์

Assistant Professor

EKKAPOLLANUT NATTHAPHATTHANUNTH, Ph.D.

ekkapollanut@gmail.com, nuttapattanun_e@su.ac.th

วุฒิการศึกษา

ปริญญาเอก: รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (รัฐศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2557)
ปริญญาโท: รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การปกครอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2551)
ปริญญาตรี (ใบที่ 1): วิทยาศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2547)
ปริญญาตรี (ใบที่ 2): ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง (2548)

ผลงานวิทยานิพนธ์

ระดับปริญญาเอก

เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2556). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ขบวนการและขบวนการโต้กลับ: กรณีศึกษาการเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มคนเสื้อแดง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549-2553. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ระดับปริญญาโท

เอกพล เสียงดัง. (2550). ผลสะเทือนจากการต่อสู้ของขบวนการคนจนและคนด้อยอำนาจ ในสังคมไทยตั้งแต่ปี 2531-2549. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สาขาวิชาที่สนใจ

  • การเมืองภาคประชาชนและขบวนการทางสังคม (โดยเฉพาะขบวนการคนจน)
  • สื่อและการเมืองดิจิทัล
  • ประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่
  • ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติสำหรับนักรัฐศาสตร์

ผลงานวิชาการที่ดำเนินการเสร็จแล้ว

โครงการบริการวิชาการ :

ปี 2563

  • โครงการการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลนครนครปฐม ประจำปีงบประมาณ 2563 (จัดทำร่วมกันระหว่างภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรและเทศบาลนครนครปฐม)

ปี 2564

  • โครงการจัดทำนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ประจำปี 2555-2559 (เป็นผู้ช่วยวิจัยในคณะทำงานฯ จัดทำร่วมกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ)

บทความวิชาการภาษาไทย :

  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2561). “ยักษ์ที่เท้าทำด้วยดินเหนียว: บทวิจารณ์ของ Leo Strauss กับความง่อนแง่นขององค์ความรู้ในการวิจัยเชิงปริมาณ?” วารสารสังคมศาสตร์ 48, 1 (มกราคม – มิถุนายน): 149 – 170.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2559). “การศึกษาขบวนการคนจนกับการสร้างความเป็นประชาธิปไตยในประเทศไทย: ข้อจำกัดของแนวทางการวิเคราะห์แบบขบวนการทางการเมืองและสังคม.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 38, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม): 139-173.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2558). “การเมืองสีเสื้อกับการศึกษาขบวนการโต้กลับตามจารีตการศึกษาขบวนการทางสังคมและการเมือง.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 1 (มกราคม-มิถุนายน): 85-128.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2557). “ขบวนการมวลชนเสื้อแดงกับการปฏิวัติทางสังคมที่ไม่ถึงจุดสิ้นสุด.” วารสารวิจัยสังคม 37, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม): 45-88.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2556). “พลวัตภายในแนวการวิเคราะห์ขบวนการทางสังคม.” วารสารสังคมศาสตร์ 43, 1 (มกราคม – มิถุนายน 2556): 181-204.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2556). “ปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ขบวนการและขบวนการโต้กลับ: งานวิชาการตามจารีตการศึกษาแบบขบวนการทางสังคมและการเมืองในระดับสากล (บทสำรวจเบื้องต้น).” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 9, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 7-60.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2555). “รัฐศาสตร์กับแนวทางการศึกษาที่เหมาะสม.” วารสารการเมืองการปกครอง 2, 1 (กันยายน 2554 – กุมภาพันธ์): 162-182.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2554). “สถานะทางญาณวิทยาของสังคมศาสตร์คืออะไรกันแน่? ระหว่างวิทยาศาสตร์กับมนุษยศาสตร์.” การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 12 (พ.ศ. 2554), หน้า 345-361.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2554). “ปรัชญาการเมืองกรีกโบราณของเพลโตและอริสโตเติลกับ ‘รัฐศาสตร์สมัยใหม่’.” วิภาษา 5, 1 (16 มีนาคม-30 เมษายน): 32-46.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2554). “ญาณวิทยาที่หลากหลายของปรัชญาสังคมศาสตร์: สัมพัทธคติ (Relativism) คือ จุดจบ?” วิภาษา 5, 5 (16 กันยายน-31 ตุลาคม): 32-43.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2554). “การเปลี่ยนผ่านกระบวนทัศน์ภายในแนวการวิเคราะห์ขบวนการทางสังคม?” วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ 2, 1: 82-110.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2553). “ระบบเครือญาติในลัทธิขงจื่อกับปัญหาการคอรัปชั่น: การตีความผ่านคัมภีร์หลุนอี่ว์,” วารสารสังคมศาสตร์ 41, 1 (มกราคม-มิถุนายน): 158-196.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2553). “งานพัฒนาสิทธิที่อยู่อาศัยและสวัสดิการชุมชนของเครือข่ายสลัมสี่ภาคภายใต้โครงการพัฒนาของรัฐ” ใน หนังสือรวมบทความและงานวิจัย การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 11 (พ.ศ. 2553), หน้า 1434-1451.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2553). “ความมั่นคงของประชาธิปไตย: กรณีศึกษาเปรียบเทียบญี่ปุ่นและไทย” ใน หนังสือรวมบทความและงานวิจัย การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 11 (พ.ศ. 2553), หน้า 291-307.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2552). “ผลสะเทือนจากการต่อสู้ของขบวนการคนจนและคนด้อยอำนาจในสังคมไทย ตั้งแต่ปี 2531-2549.” วารสารสังคมศาสตร์ 40, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 220-272.
  • เอกพล เสียงดัง. (2552). “การเจรจายุติสถานะสงครามระหว่างไทยกับอังกฤษในช่วงเปลี่ยนผ่านของระเบียบโลก,” ฟ้าเดียวกัน 7, 4 (ตุลาคม-ธันวาคม): 152-181.
  • เอกพล เสียงดัง. (2551). “ผลสะเทือนจากการต่อสู้ของขบวนการคนจนในสังคมไทย: การส่งผลสะเทือนซึ่งกันและกันของขบวนการคนจน” ใน หนังสือรวมบทความและงานวิจัย การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 9 (พ.ศ. 2551), หน้า 1369-1383.

บทความวิชาการภาษาอังกฤษ :

  • Ekkapollanut Nuttapattanun. (2018). “Internationalization of Thai State: A Case Study of the Development of Thailand’s Banknotes from 1900s to 1960s.” Proceedings of 131st IASTEM International Conference, Saint Petersburg, Russian Federation, 9th – 10th August 2018. Pp. 44 – 50.

งานวิชาการบางบทในหนังสือและบทความวิจัยในหนังสือรวมบทความ

  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2564). หน่วยที่ 13 สถาบันสื่อมวลชน. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา 80202 สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. หน้า xxx-xxx. (รอการตีพิมพ์)
  • คัททิยากร ศศิธรามาศ และเอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์ (ผู้แปล). (25xx). บทที่ 4 สยามที่แตกต่าง ค.ศ. 1893 – 1952: การแทรกแซงจากภายนอกและการโอนอ่อนในการสร้างรัฐอธิปไตยไทย. ใน จา เอียน ชง. (25xx). บงการอธิปไตย: การแทรกแซงจากจักรวรรดินิยมตะวันตกกับการก่อรูปของรัฐสยาม. กรุงเทพฯ: illumination editions. หน้า xxx-xxx. (รอการตีพิมพ์)
  • เอกพล เสียงดัง. (2552). “ผลสะเทือนจากการต่อสู้ของขบวนการคนจนและคนด้อยอำนาจในสังคมไทย ตั้งแต่ปี 2531-2549” ใน บุญเลิศ วิเศษปรีชา (บก.), รวมบทความที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ สำหรับวิทยานิพนธ์เพื่อคนจน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา. หน้า 90-132.

หนังสือ

  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). การวิเคราะห์การเมือง: ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. (438 หน้า)
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2559). เครือข่ายสลัมสี่ภาค: การต่อสู้เพื่อความอยู่รอดภายใต้โครงการพัฒนาของรัฐไทย ตั้งแต่ปี 2500-2553. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. (197 หน้า)

บทบรรณาธิการหนังสือ

  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. บรรณาธิการ. (2560). สังคมศาสตร์การพัฒนา: รวมบทความวิชาการและบทความวิจัย. กรุงเทพฯ: แดเน็กซ์อินเตอร์คอร์ปอเรชัน.
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. บรรณาธิการ. (2561). สังคมศาสตร์การพัฒนา: รวมบทความวิจัยและบทความวิชาการ ประจำปี 2561. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. (118 หน้า)

สารานุกรม (บทความขนาดสั้นเผยแพร่ใน ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า)

  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). “สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล.” ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. เผยแพร่วันที่ 16 สิงหาคม 2560. แหล่งที่มา http://wiki.kpi.ac.th/index.php? title=สมาชิก สภาองค์การบริหารส่วนตำบล
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). “สมาชิกสภาเมืองพัทยา.” ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. เผยแพร่วันที่ 3 สิงหาคม 2560. แหล่งที่มา http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สมาชิกสภาเมืองพัทยา
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). “สมาชิกสภาเทศบาล.” ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. เผยแพร่วันที่ 2 สิงหาคม 2560. แหล่งที่มา http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สมาชิกสภาเทศบาล
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). “สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร.” ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. เผยแพร่วันที่ 3 สิงหาคม 2560. แหล่งที่มา http://wiki.kpi.ac.th/index.php? title=สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). “การเลือกตั้งท้องถิ่น.” ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. เผยแพร่วันที่ 4 สิงหาคม 2560. แหล่งที่มา http:// wiki.kpi.ac.th/index.php?title=การเลือกตั้งท้องถิ่น
  • เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). “การเข้าชื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น.” ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. เผยแพร่วันที่ 2 สิงหาคม 2560. แหล่งที่มา http://wiki.kpi.ac.th/ index.php?title=การเข้าชื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น

รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับ

ปี 2551

  • เกียรติบัตรและรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับชมเชย จากวิทยานิพนธ์เรื่อง “ผลสะเทือนจากการต่อสู้ของขบวนการคนจนและคนด้อยอำนาจในสังคมไทย ตั้งแต่ปี 2531-2549” โครงการรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ สำหรับวิทยานิพนธ์เพื่อคนจน ครั้งที่ 1 โดย สถาบันสัญญา ธรรมศักดิ์ เพื่อประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2551

เกียรติบัตรและรางวัลที่ได้รับ :

  • เกียรติบัตร “โครงการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนานักศึกษา” ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2546
  • ทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รุ่นที่ 4 จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  • รางวัล “ยอดนักยืม(หนังสือ) ระดับชั้นปริญญาเอก” ในกิจกรรมวันเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalinet Fair) จัดโดย ศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2554
  • ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภทบัณฑิตศึกษา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีการศึกษา 2555 ระดับปริญญาเอก กลุ่มเรื่องที่ 9 (สันติสุขและการจัดการความขัดแย้ง การสร้างสังคมที่สมานฉันท์ในประเทศ และกับประเทศเพื่อนบ้าน)
  • ทุน 90 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช รุ่นที่ 18 ครั้งที่ 2/2555