สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ
- วรรณคดีไทย
วิทยานิพนธ์
- ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. “ภาพลักษณ์พระมหากษัตริย์ไทยในวรรณคดีสมัยอยุธยา.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2557.
- ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. “ยวนพ่ายโคลงดั้น: ความสำคัญที่มีต่อการสร้างขนบและพัฒนาการของวรรณคดีประเภทยอพระเกียรติของไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.
ผลงานวิจัย
ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
- ชนัญชิดา บุญเหาะ และปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2566). “โคลงสุุภาสิตใหม่ โคลงอุภัยพากย์ และ โคลงพิพิธพากย์: ความสัมพันธ์ระหว่างโคลงสุภาษิตในหนังสือวชิรญาณวิเศษกับการสร้างข้าราชการแบบใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 5.” วารสารไทยศึกษา 19, 2 (ธันวาคม 2566): 84-116.
(Tci 1) - ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2558). “ภาพแทนของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น.” ทุนอุดหนุนการวิจัย จากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคณะอักษรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2558.
ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่
- ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2559). “ภาพแทนของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในยวนพ่ายโคลงดั้น.” ใน รวมบทความวิจัยการประชุม วิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6: อัตลักษณ์แห่งเอเชีย 2016. 58-69, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 17 มิ.ย. 2559. จังหวัดชลบุรี.
Proceedings
- Pattama Theekaprasertkul. (2013). “Sutrasthani: Atechnique to present King Borommatrailokkanat’s Images in Yuan Phai Khlong Dan”. The paper presented in The Asian Conference on Arts and Culture. Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand.
- Pattama Theekaprasertkul. (2013). “The influences of Yuan Phai Khlong Dan’s convention on Thai panegyric Literatures”. The paper presented in RGJ – Ph.D Congress XV. Jomtien Beach Hotel, Pattaya, Thailand.
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
บทความทางวิชาการ
ระดับชาติ
- จตุธรรม แซ่ลี้ และปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2564). “เพื่อแนะกุลบุตรยล เยี่ยงไว้” : กุศโลบายการสอนในพระนลคำหลวง.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ปีที่4 ฉบับที่2 (กรกฎาคม- ธันวาคม 2564). หน้า 248 – 301.
- จตุธรรม แซ่ลี้ และปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2563). “ภาพลักษณ์ของชาวจีนและชาวตะวันตกในพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.” วารสารพิฆเนศวร์สาร. ปีที่16 ฉบับที่2 (กรกฎาคม- ธันวาคม 2563). หน้า 41 – 58.
- ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2562). “กาพย์สดุดีของพระยาศรีสุนทรโวหาร : วรรณคดียอพระเกียรติ ‘ราชศาสน์ชาติของตน‘.” ใน หนังสือภาษาสรร วรรณกรรมสาร : เนื่องในวาระ 50 ปี ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, กุสุมา รักษมณี (บรรณาธิการ). นครปฐม: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร: หน้า 229 – 243.
- วิเชษฐชาย กมลสัจจะ และปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. “บทอาศิรวาทเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช: ภาพลักษณ์พระมหากษัตริย์และกลวิธีการน าเสนอ” วารสาร Veridian E-Journal Silpakorn University. ปีที่11 ฉบับที่3 (กันยายน– ธันวาคม 2561) หน้า 2914 – 2936.
- ภัคพล คำหน้อย และปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. “ภาพลักษณ์เจ้าเมืองในวรรณกรรมค่าวซอและปัจจัยในการสร้างสรรค์” วารสาร Veridian E-Journal Silpakorn University. ปีที่11 ฉบับที่3 (กันยายน– ธันวาคม 2561) หน้า 2914 – 2936.
- ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล “โทษทัณฑ์ในขุนช้างขุนแผน การยอมรับ–การต่อรองอำนาจ” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 39 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค.2560):76-103.
- ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2560). “การขอพรในวรรณคดียอพระเกียรติของไทย.” วารสารไทยศึกษา (Journal of Thai Studies) 13, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2560): 73-100. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)
- วนิดา เถื่อนใหญ่ และปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2559). “นวนิยายของอุรุดา โควินท์: พื้นที่ เพศสถานะ และการโต้กลับปิตาธิปไตย.” ใน รวมบทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6: อัตลักษณ์แห่งเอเชีย 2016. 1248-1258, คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 17 มิ.ย. 2559. จังหวัดชลบุรี.
- จุฑามาศ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา และปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2559). “พระรามกับการผจญภัยของวีรบุรุษ.” ใน รวมบทความวิจัย การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6: อัตลักษณ์แห่งเอเชีย 2016. 1259-1269, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 17 มิ.ย. 2559. จังหวัดชลบุรี.
- ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2558). “ภาพลักษณ์พระมหากษัตริย์ไทยในวรรณคดีสมัยอยุธยา.” ใน สรรพวิทยาภาษาและวรรณกรรมไทย ๒ รวมบทความวิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสาขาภาษาไทย, 80 – 104. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล และชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (2554). “เสียงและจังหวะ: กลวิธีทางวรรณศิลป์ในยวนพ่ายโคลงดั้น.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 : 99 – 117.
- ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล และชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (2554). “การสร้างภาพลักษณ์สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในยวนพ่ายโคลงดั้นด้วยการใช้ข้อมูลทางวรรณคดี.” วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน) : 310 – 323.
- ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2549). “นวนิยายอิงธรรมะของสไบเมือง : วรรณกรรมสดุดีพระพุทธคุณ.” ใน รวมบทความทางวิชาการภาษาและวรรณกรรมสาร : ภาษาและวรรณกรรมกับสังคม, 345 – 367. บาหยัน อิ่มสำราญ, บรรณาธิการ. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล และชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (2547). “เชียงชื่น: ความสำคัญที่มีต่อการสร้างวีรกรรมของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในยวนพ่ายโคลงดั้น.” วารสารสุทธิปริทัศน์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 85 (มกราคม – มีนาคม) : 269 – 286.