อาจารย์ ดร. สิริชญา คอนกรีต

Instructor

SIRICHAYA CORNGREAT, Ph.D.

sirichaya.c@gmail.com

วุฒิการศึกษา

  • อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2557)
  • อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2549)
  • ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2544)

วิทยานิพนธ์

ระดับปริญญาเอก

สิริชญา คอนกรีต. “เพลงลูกทุ่งอีสาน : อัตลักษณ์และการเมืองเชิงวัฒนธรรมของคนอีสานพลัดถิ่น.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2556.

ระดับปริญญาโท

สิริชญา คอนกรีต. “การวิเคราะห์ผญาจากรายการวิทยุกระจายเสียง.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548.

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  • คติชนวิทยา

ผลงานวิจัย

ผลงาานวิจัยฉบับสมบูรณ์

  • สิริชญา คอนกรีต. (2558). “ภาพแทนของผู้หญิงในเรื่องเล่าขำขันจากอินเตอร์เน็ต.” ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมและ พัฒนาคณะอักษรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2558.

Proceedings

  • สิริชญา คอนกรีต. (2555). “อาหารในเพลงลูกทุ่ง : การประกอบสร้างอัตลักษณ์ของคนอีสานพลัดถิ่น“. นำเสนอในงานประชุมวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555.

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

บทความทางวิชาการ

ระดับชาติ

  • สิริชญา คอนกรีต. (2558). “การเมืองของเรื่องเล่าในเพลงลูกทุ่งอีสาน.” วารสารศาสตร์ ฉบับท้องถิ่นในความเป็นโลก ความเป็น โลกในท้องถิ่น, 8, 2 (..-.. 2558): 23-73. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2)
  • ________. (2558). “ดนตรี เทศกาล และอาชีพในเพลงลูกทุ่ง : อัตลักษณ์และการต่อรองของคนอีสาน.” วารสารอักษรศาสตร์, 44, 2: 71-102.
  • ________. (2558). “การเมืองของเรื่องเล่าในเพลงลูกทุ่งอีสาน.” วารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคมสิงหาคม).
  • ________. (2554). “ ‘ผญาในรายการวิทยุกระจายเสียง : การปรับเปลี่ยนภูมิปัญญาอีสานเพื่อการดำรงอยู่.”  วารสารไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคมธันวาคม).
  • ________. (2552). “กฎไตรลักษณ์แห่งชีวิตในนวนิยายเรื่องเวลา ของชาติ กอบจิตติ.” ใน เรียงร้อยถ้อยวิจารณ์ : รวมบทวิจารณ์คัดสรรสาขาวรรณกรรมและภาพยนตร์. กรุงเทพฯ : สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย.
  • ________. (2553). “วาทศิลป์ในบทละครพูดพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 6.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคมธันวาคม).
  • ________. (2550). “วาทศิลป์ในนันโทปนันทสูตรคำหลวง.” สารมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคมมิถุนายน).

ระดับนานาชาติ

  • Sirichaya Corngreat. (2014). “Food in Isan Country Song: The Urban and the Rural Construction of the Isan Diaspora” RIAN THAI : International Journal of Thai Studies. Vol. 7/2014.

ผลงานสร้างสรรค์

  • ประภาพร ลิ้มจิตสมบูรณ์ และสิริชญา คอนกรีต. (2555). ชุดกิจกรรมพัฒนาการคิด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.

รางวัล

  • รางวัลชมเชยบทวิจารณ์วรรณกรรม ของคณะกรรมการกองทุน ..บุญเหลือ เทพยสุวรรณ ประจำปี 2544 จากบทวิจารณ์เรื่องกฎไตรลักษณ์แห่งชีวิตในนวนิยายเรื่องเวลา ของ ชาติ กอบจิตติ

การบริการวิชาการแก่หน่วยงานภายนอก

หน่วยงานภายในประเทศ

  • ผู้ประเมินบทความในวารสารวิชาการ
    • วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
  • กรรมการตัดสิน การประกวด/ แข่งขัน
    • คณะกรรมการตัดสินประกวดแข่งขันประชันกลอนสด ครบรอบ 70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร