ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุณฑริกา คงเพชร

Assistant Professor

BOONDARIKA KONGPHET, Ph.D.

email@email.com

วุฒิการศึกษา

  • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ดนตรี) มหาวิทยาลัยมหิดล (2548)
  • ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ดนตรีไทย) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  • ดนตรีไทย ซอสามสาย

วิทยานิพนธ์

  • Boondarika Kongphet. “Making Of Saw Sam Sai Solo A Variation On Phleng Dok Mai Sai Tow.” M.A. Music, University of Mahidol, 2005.

ผลงานวิจัย

ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

  • บุณฑริกา เจริญชินวุฒิ. (2556). “เปรียบเทียบการบรรเลงพิณเปี๊ยะ 2 สาย และ 4 สาย กรณีศึกษาครูวิศาลทัศน์ รัตนมงคลเกษม“. ได้รับทุนอุดหนุนจากกองทุนวิจัยและสร้างสรรค์คณะอักษรศาสตร์ ประจำปี 2555.
  • บุณฑริกา เจริญชินวุฒิ. (2552). “การศึกษาวิธีการผลิตขิมและการบรรเลงขิม กรณีศึกษา นายวินิจ พุกสวัสดิ์“. นครปฐม, ทุนอุดหนุนการวิจัยคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจำปี .. 2551.

Proceedings

ระดับชาติ

  • บุณฑริกา เจริญชินวุฒิ. (2561). “การละเล่นกระทบไม้ในบทบาทที่แตกต่างกัน“. ในหนังสือรวมบทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 8, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 22 มิถุนายน 2561: 732-745.
  • บุณฑริกา เจริญชินวุฒิ. (2559). “การศึกษาวิธีการผลิตและการบรรเลงขิม กรณีศึกษานายวินิจ พุกสวัสดิ์.” ในหนังสือรวมบทความวิจัยของการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6 : อัตลักษณ์แห่งเอเชีย 2016, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 17 มิ.. 2559 : 1220 -1228.
  • บุณฑริกา เจริญชินวุฒิ. (2557). “เปรียบเทียบการบรรเลงพิณเปี๊ยะ 2 สาย และ 4 สาย กรณีศึกษาครูวิศาลทัศน์ รัตนมงคลเกษม“. ในหนังสือรวมบทความวิจัยของการประชุมวิชาการดนตรีระดับชาติ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 1, โรงแรมเจริญธานีขอนแก่น .ขอนแก่น, 5 กุมภาพันธ์ 2557: 1-10.
  • บุณฑริกา เจริญชินวุฒิ. (2557). การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่4 : อัตลักษณ์แห่งเอเชีย 2014, คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 7 พฤษภาคม 2557: 1-10.

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

บทความทางวิชาการ

ระดับชาติ

  • บุณฑริกา คงเพชร. (2563). “ครุฑเหยียบแตรงอน” ตราสัญลักษณ์ของการสื่อสารไทย” proceedings การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 3 (The 3rd National Conference on Humanities and Social Sciences : 3rd HUNIC Conference 2020) 25 กันยายน 2563 ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • บุณฑริกา คงเพชร. (2563). สัมพันธภาพระหว่างน่านเจ้ากับจีนสู่บทเพลง “น่านเจ้าจิ้มก้อง”. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 4, 14 สิงหาคม 2563 ณ วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์
  • บุณฑริกา เจริญชินวุฒิ. (2560). มะพร้าวซอ : อัตลักษณ์ของความเป็นเครื่องดนตรี. ใน หนังสือรวมบทความวิจัยของการประชุม วิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 7, คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 30 มิ.. 2560: 349 – 355.
  • บุณฑริกา เจริญชินวุฒิ. (2559). “สังข์เครื่องดนตรีในพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคมธันวาคม 2559): 257-292.
  • บุณฑริกา เจริญชินวุฒิ. (2556). “การวิเคราะห์เพลงเขมรปี่แก้วทางสักวา” วารสารศิลปกรรมศาสตร์ ขอนแก่น 5, 2 (2556): 96-126.