สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ
- การละครสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
วิทยานิพนธ์
- ปวริส มินา. (2556). “การสร้างสรรค์บทละครพูดชวนหัวของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจากบทละครสุขนาฏกรรมภาษาฝรั่งเศส.” วิทยานิพน์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ผลงานวิจัย
ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
- ปวริส มินา, มุจรินทร์ อิทธิพงษ์ และณัฐภรณ์ สถิตวราทร. (2565). “ชุดโครงการวิจัยเรื่องสมุทรสงครามศึกษา (โครงการย่อยที่ 6 ภาพรวมมรดกทางด้านศิลปะการแสดง: กรณีศึกษาจังหวัดสมุทรสงคราม”. นครปฐม, กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 76 หน้า
- ปวริส มินา, มุจรินทร์ อิทธิพงษ์ และณัฐภรณ์ สถิตวราทร. (2565). “ชุดโครงการวิจัยเรื่อง นันโทปนันทสูตรคำหลวง : สืบสาน บันดาลศิลป์ (โครงการย่อยที่ 3 ศิลปะการแสดงร่วมสมัย “นันโทปนันทะ”). นครปฐม, กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 86หน้า
- ปวริส มินา. (2565). “การใช้นาฏกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม”. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.). 279 หน้า.
- ปวริส มินา. (2563). “การศึกษาบทละครพูดชวนหัวผ่านการจัดการเรียนการสอนแบบ โครงงาน”. ทุนพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร. 81 หน้า
- ปวริส มินา, วิรัช ศิริวัฒนะนาวิน, มุจรินทร์ อิทธิพงษ์, ณัฐภรณ์ สถิตวราทร และประสิทธิ์ชัย จิรปสิทธินนท์. (2562). “ศิลปะการแสดงร่วมสมัย สะใภ้แหม่ม”. นครปฐม, กองทุน วิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 65 หน้า
- ปวริส มินา. (2561). “โครงการวิจัยนวัตกรรมการเรียนการสอนพระอัจฉริยภาพด้านการสร้างสรรค์บทละครพูดชวนหัวของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบผู้เรียนใช้การวิจัย (Research -Based Learning)”. นครปฐม, ทุนพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร. 56 หน้า
- ปวริส มินา และณัฐภรณ์ สถิตวราทร. (2560). มโนทัศน์อิสรเสรีและความเสมอภาคผ่านค่านิยมในสื่อทัศนศิลป์: กรณีศึกษาเนื้อหาและพื้นที่จัดแสดงผลงานสื่อทัศนศิลป์ในประเทศไทย พ.ศ. 2556-2560. ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประจำปี พ.ศ. 2560.
- ปวริส มินา, ภัธทรา โต๊ะบุรินทร์ และมุจรินทร์ อิทธิพงษ์. (2559). “ละครพูดชวนหัวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว: การตีความใหม่ผ่านศิลปะการแสดงร่วมสมัย” นครปฐม. สำนักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 104 หน้า
- ภัธทรา โต๊ะบุรินทร์, ปวริส มินา และพงศธร เครือฟ้า. (2559). “มโนทัศน์อิสรเสรีและความเสมอภาคผ่านค่านิยมในสื่อโทรทัศน์ : กรณีศึกษารายการประกวดร้องเพลง”. ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประจำปี พ.ศ. 2558.
- ปวริส มินา. (2558). “ละครเวทีร่วมสมัย เรื่อง “อาสา ณ วาณิช.” นครปฐม.
- ภาสกร อินทุมาร ภัธทรา โต๊ะบุรินทร์ และปวริส มินา. (2555). โครงการวิจัยประเมินผล “บทบาทของโครงการเปลี่ยน โลกให้เข้ากับเราในการสร้างจินตนาการใหม่ว่าด้วยคนพิการและความพิการในสังคมไทย”. ทุนสนับสนุนการ วิจัยจาก สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.) ประจำปี พ.ศ. 2555.
- ภัธทรา โต๊ะบุรินทร์ ภาสกร อินทุมาร และรุ่งธิวา ขลิบเงิน. (2554). การวิจัยประเมินผล “โครงการพัฒนาเครือข่ายและ การขับเคลื่อนงานศิลปะเพื่อคนทั้งมวล (Inclusive Arts) ในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชีย–แปซิฟิก“. ทุน สนับสนุน การวิจัยจากสถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.) ประจำปี พ.ศ. 2554, ผู้ช่วยวิจัย.
Proceedings
ระดับชาติ
- ปวริส มินา. (2560). “การใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อสร้างสรรค์ละครเวทีเรื่องมัทนะพาธา”. ใน หนังสือรวมบทความวิจัยการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยและสร้างสรรค์ระดับชาติ “ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 10: บูรณาการศาสตร์และศิลป์”. หน้าที่ C16-C17. การนำเสนอผลงานทางวิจัยและสร้างสรรค์ระดับชาติ “ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 10: บูรณาการศาสตร์และศิลป์”. มหาวิทยาลัยศิลปากร, 23-25 มกราคม 2560. นครปฐม: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- ปวริส มินา. (2559). “ผลงานสร้างสรรค์ละครเวทีร่วมสมัย เรื่อง อาสา ณ วาณิช”. ใน เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยและสร้างสรรค์ระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 9 : บูรณาการศาสตร์และศิลป์”. หน้าที่ C44-51. มหาวิทยาลัยศิลปากร, 11-21 กุมภาพันธ์ 2559. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- ปวริส มินา. (2558). “ผลงานสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงร่วมสมัยการแสดงละครสุขนาฏกรรมเรื่อง คดีสำคัญ”. ใน เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยสร้างสรรค์ระดับชาติ “ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 8 : บูรณาการศาสตร์และศิลป์”. หน้าที่ C52-60. มหาวิทยาลัยศิลปากร, 12-13 กุมภาพันธ์ 2558. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- ปวริส มินา, ภัธทรา โต๊ะบุรินทร์ และมุจรินทร์ อิทธิพงษ์. (2558). “ผลงานสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงร่วมสมัย ฤาษีดัดตน”. ใน หนังสือประมวลผลการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ (Proceedings) “มหกรรมวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558”. สำนักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 16-20 สิงหาคม พ.ศ. 2558.
ระดับนานาชาติ
- มุจรินทร์ อิทธิพงษ์, ปวริสมินา และณัฐภรณ์ สถิตวราทร. (2565). “Nandopananda” Process of Performance Rehearsal for the Creation of Contemporary Performing Arts”. ใน หนังสือรวมบทความวิชาการ The Barcelona Conference on Arts, Media & Culture (BAMC2022). pages 67-73. การนำเสนอผลงานทางวิชาการระดับนานาชาติ The Barcelona Conference on Arts, Media & Culture (BAMC2022). (Online) Spain, 20 September 2022 – 23 September 2022.
- ปวริส มินา, ณัฐภรณ์ สถิตวราทร และภัธทรา โต๊ะบุรินทร์. (2561). “The Theatre Creative Research A Midsummer Night’s Dream”. ใน หนังสือรวมบทความวิชาการ The Asian Conference on Art&Humanities (ACAH 2018). การนำเสนอผลงานวิชาการระดับนานาชาติ The Asian Conference on Art&Humanities (ACAH 2018). The Art Center of Kobe Japan, 30 March 2018 – 1 April 2018.
- ปวริส มินา. (2559). “The Theatre Research Project “Hua Jai Thong” : The Play Which Reflects an IDea of Educational Values in Thailand”. ใน หนังสือรวมบทความวิชาการ The Asian Conference on Arts and Humanities 2016. pages 137-140. การนำเสนอผลงานวิชาการระดับนานาชาติ The Asian Conference on Arts and Humanities 2016. The Art Center of Kobe Japan, 7 April 2016 – 10 April 2016.
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
บทความทางวิชาการ
ระดับชาติ
- ปวริส มินา. (2559). “พระอัจฉริยภาพด้านการสร้างสรรค์ฉากและสถานที่ในพระราชนิพนธ์บทละครพูดชวนหัวของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจากบทละครสุขนาฏกรรมภาษาฝรั่งเศส”. ใน วารสารห้องสมุด, ปีที่ 60 ฉบับที่ 1 (มกราคม–มิถุนายน) : 13-20.
- ปวริส มินา. (2556). “การดัดแปลงบทว่าด้วยการสร้างสรรค์ฉากและสถานที่ในพระราชนิพนธ์บทละครพูดชวนหัวของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจากบทละครสุขนาฏกรรมภาษาฝรั่งเศส.” ใน เอกสารประกอบการ ประชุมเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 7, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา.
- ________. (2556). “พระอัจฉริยภาพด้านการสร้างสรรค์ฉากและสถานที่ในพระราชนิพนธ์บทละครพูดชวนหัวของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจากบทละครสุขนาฏกรรมภาษาฝรั่งเศส.” ใน รวมบทความวิจัยการ ประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ SMARTS ครั้งที่ 3. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม, 12 กุมภาพันธ์ 2556.
ระดับนานาชาติ
- Mina, Pawaris. (2015). “The Procedure of Nationalism in King Rama VI’s Play: The Case Study of Hua Jai Nak Rob”. In the proceedings of the European Conference on Arts & Humanities, Brighton, UK, July 13-16, 2015.
การตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารทางวิชาการ
- ปวริส มินา, ณัฐภรณ์ สถิตวราทร, ภัธทรา โต๊ะบุรินทร์ และธีรพล กลิ่นมงคล. (2565). “ลูกไม้ Why/วาย/วัย ป่วง” : การตีความละครพูดชวนหัวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวผ่านศิลปะการแสดงร่วมสมัย (“Luk Mai Why/Waay/Wai/ Puang” : The Comedies of King Rama VI’s: The New Interpretation of King Rama VI’s Comedies Through Performing Arts)”. The New Viridian Journal of Arts, Humanities and Social Sciences ปีที่ 2, ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2565). หน้าที่ 1-13. (TCI 2)
- ปวริส มินา และณัฐภรณ์ สถิตวราทร. (2564). “ประสิทธิผลในการศึกษาพระอัจฉริยภาพด้านการสร้างสรรค์บทละครพูดชวนหัว ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอน แบบการวิจัยเป็นฐาน (Research-Based Learning) ((Accomplishment of Teaching of The Royal Intellectual Creation of King Rama VI’s Comedy Spoken Play Scripts by Research-based Learning))”. The New Viridian Journal of Arts, Humanities and Social Sciences ปีที่ 1, ฉบับที่ 2 (มีนาคม-เมษายน 2564). หน้าที่ 18-33. (TCI 2)
- ปวริส มินา และณัฐภรณ์ สถิตวราทร. (2561). “มโนทัศน์อิสรเสรีและความเสมอภาคผ่านค่านิยมในสื่อทัศนศิลป์: กรณีศึกษาเนื้อหาและพื้นที่จัดแสดงผลงานสื่อทัศนศิลป์ในประเทศไทย พ.ศ.2556-2560 (Equality And Liberty In Fine Art: A Case Study Of Content And Art Space In Thailand During 2013-2017)”. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 11, ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2561). หน้าที่ 2314-2331. (TCI 1)
- ปวริส มินา. (2561). “กลวิธีการสร้างสรรค์ความตลกในรายการโทรทัศน์ไทย”. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 11, ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2561). หน้าที่ 2300-2313. (TCI 1)
- ปวริส มินา. (2561). “การแสดงตลกในนาฏกรรมไทย”. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 41, ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2562). หน้าที่ 86-101. (TCI1)
ผลงานสร้างสรรค์
- ปวริส มินา, มุจรินทร์ อิทธิพงษ์ และณัฐภรณ์ สถิตวราทร. (2565). ผลงานสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงร่วมสมัย นันโทปนันทะ [ละครเวที]. โรงละครทรงพล (D.D. Auditorium) อาคารวชิรมงกุฎ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565.
- ปวริส มินา, ณัฐภรณ์ สถิตวราทร, ปัณณทัต โพธิเวชกุล และภัธทรา โต๊ะบุรินทร์. (2562). ผลงานสร้างสรรค์ละครเวทีเรื่องล่ามดี [ละครเวที]. โรงละครวัชรนาฏยสภา (A4) คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 12 ธันวาคม พ.ศ. 2562.
- ปวริส มินา. (2560). ผลงานสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงร่วมสมัย “Thutiyawiset” [ละครเวที]. โรงละครทรงพล อาคารวิชรมงกุฎ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย. 25-27 มิถุนายน 2560.
- ณัฐภรณ์ สถิตวราทร และปวริส มินา. (2560). ผลงานสร้างสรรค์ละครเวทีเรื่อง “มหาตมะ”. จัดการแสดง ณ โรงละครทรงพล คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 20 พฤศจิกายน 2560.
- ปวริส มินา. (2559). ผลงานสร้างสรรค์ละครเวทีเรื่อง “มหาตมะ”. จัดการแสดง ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 25 พฤศจิกายน 2559.
- ปวริส มินา, ณัฐภรณ์ สถิตวราทร และภัธทรา โต๊ะบุรินทร์. (2559). ผลงานสร้างสรรค์ละครเวทีเรื่อง “A Midsummer Night’s Dream”. จัดการแสดง ณ หอประชุมชั้น 2 มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี, 5 เมษายน 2559.
- ปวริส มินา. (2558). ผลงานสร้างสรรค์ละครเวทีเรื่อง “มัทนะพาธา”. จัดการแสดง ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 25 พฤศจิกายน 2558.
- _______. (2558). ผลงานสร้างสรรค์ละครเวทีเรื่อง “หัวใจทอง”. จัดการแสดง ณ โรงละครวัชรนาฏยสภา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 22 ตุลาคม 2558.
- _______. (2558). ผลงานสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงร่วมสมัย “อาสา ณ วาณิช”. จัดการแสดง ณ โรงละครทรงพล คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 27 เมษายน 2558.
- ปวริส มินา, ภัธทรา โต๊ะบุรินทร์ และมุจรินทร์ อิทธิพงษ์. (2557). ผลงานสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงร่วมสมัย “ฤาษี ดัดตน”. จัดการแสดง ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรวิหาร, 1 – 6 พฤศจิกายน 2557.
- ปวริส มินา. (2557). ผลงานสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงร่วมสมัย “คดีสำคัญ” [ละครเวที]. โรงละครทรงพล (D.D. Auditorium) อาคารวชิรมงกุฎ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 6-8 พฤษภาคม พ.ศ. 2557.
บทวิจารณ์
- ปวริส มินา. (2554). “สารของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวในพระราชนิพนธ์บทละครพูดเรื่องหัวใจนักรบ” ใน หนังสือที่ระลึกในวันสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า} 25 พฤศจิกายน 2554. นครปฐม. มหาวิทยาลัยศิลปากร: 82-88.
- _______. (2554). “Thailand Jazz Competition เวทีสำหรับเยาวชนไทยหัวใจแจ๊ส” ใน ART SQUARE 3, 1 (พฤษภาคม): 10-17.