สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ
- ประวัติศาสตร์อยุธยา
วิทยานิพนธ์
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. “กฎมณเทียรบาลในฐานะหลักฐานประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยาถึง พ.ศ. 2348.” วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. “ความเป็นสังคมนานาชาติของพระนครศรีอยุธยาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงค.ศ. 1767.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2542.
ผลงานวิจัย
ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
- ชุลีพร วิรุณหะ, วรพร ภู่พงศ์พันธุ์, พวงทิพย์ เกียรติสหกุล, วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ และเพชรดา ชุนอ่อน. (2560). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการจัดการข้อมูลประวัติศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการ นำไปประยุกต์ใช้พัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของอำเภอเมืองเพชรบุรี. กรุงเทพฯ : ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- มณีปิ่น พรหมสุทธิรักษ์ และคณะ. (2554). “โครงการเครือข่ายความร่วมมือหลักสูตรอาเซียนด้านการท่องเที่ยว: การจัดทำ แผนการฝึกอบรม (course Syllabus) และสื่อประสมประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร House Keeping: Floor Supervisor.” ทุนสนับสนุนการวิจัยจากกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ประจำปี พ.ศ. 2554.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2554). “โครงการประกอบสร้างความรู้เรื่องอยุธยาตอนปลาย.” ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประจำปี พ.ศ. 2554.
- สัญชัย สุวังบุตร และคณะ. “โครงการขุมทรัพย์ของแผ่นดิน (ค้นคว้า วิจัย และเรียบเรียงหนังสือเก่า จำนวน 5 เรื่อง ได้แก่ 1. Twentieth century impression of Siam 2. กระบวนพยุหยาตราทางสถลมารคสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช 3. ฉลากน้ำหอม 4. แบบเรียนศัพท์กรมศึกษาธิการ 5. พระราชบัญญัติว่าด้วยแบบอย่างธงสยาม) .” ทุน สนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานอุทยานการเรียนรู้ ประจำปี พ.ศ. 2553.
- มณีปิ่น พรหมสุทธิรักษ์ และคณะ. (2553). “การศึกษา ค้นคว้า และจัดทำข้อมูลของอดีตนายกรัฐมนตรี จำนวน 10 ท่าน“. ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ประจำปี พ.ศ. 2553.
ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่
- นัยนา วงศ์สายตา, อัญชลี ฤกษ์งาม, พิมพ์พรรณ ศิลปะสุวรรณ, สาลี่ เกลี้ยงเกลา, ประนอม รอดคำดี, พิมล พันธุ์วิไล, มลธิรา อุดชุมพิสัย และวรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2564). “เส้นทางสู่ความเป็นผู้นำมืออาชีพ : กรณีศึกษาพลตรีหญิง คุณหญิงอัสนีย์ เสาวภาพ” วารสารพยาบาลทหารบก 22, 1 (มกราคม-เมษายน 2564) : 118-127.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2562). “ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรอยุธยากับอาณาจักรล้านช้าง” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 41, 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) : 150-167.
- ชุลีพร วิรุณหะ, วรพร ภู่พงศ์พันธุ์, พวงทิพย์ เกียรติสหกุล, วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ และเพชรดา ชุนอ่อน. (2561). “‘ประตูสู่อุษาคเนย์’ : มุมมองใหม่ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์เมืองเพชรบุรี” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 40, 1 (มกราคม – มิถุนายน 2561) : 11-50.
- ธีรวัต ณ ป้อมเพชร และ วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2559). “พระนครศรีอยุธยาในฐานะศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการค้า” ใน อโยธยา ศรีรามเทพนครบวรทวารวดี มรดกความทรงจำแห่งสยามประเทศ เล่ม 1. วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. 151-194. กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยอิสระประวัติศาสตร์ไทย.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2559). “ผู้หญิง ความอุดมสมบูรณ์ และพระราชพิธี 12 เดือน ในคำให้การขุนหลวงหาวัด” ใน ย้อนรอย คำให้การคนกรุงเก่า : ฟื้น สร้าง ลิขิตอดีตอยุธยา/โดย คณะอนุกรรมการพิจารณาและเรียบเรียงประวัติศาสตร์ไทย สมัยอยุธยา ใน คณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทย กรมศิลปากร. หน้า 43-50. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2559). “พระนครศรีอยุธยาในฐานะศูนย์กลางแห่งพิธีกรรม” ใน อโยธยา ศรีรามเทพนครบวรทวารวดี มรดกความ ทรงจำแห่งสยามประเทศ เล่ม 1. วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. หน้า 113-150. กรุงเทพฯ: โครงการวิจัยอิสระ ประวัติศาสตร์ไทย.
- ธีระ นุชเปี่ยม วรพร ภู่พงศ์พันธุ์ และวีรวัลย์ งามสันติกุล. (2558). “สถานะความรู้ประวัติศาสตร์อยุธยาตอนปลาย” ใน ใน ยุคอวสาน กรุงศรีฯ ไม่เคยเสื่อม. สุเนตร ชุตินธรานนท์. บรรณาธิการ. หน้า 3-101. กรุงเทพฯ: มติชน.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2557). “เวียดนามกับปฏิกิริยาต่อต้านการปกครองของฝรั่งเศส ค.ศ.1884-1954” ใน จักรวรรดินิยม ตะวันตก ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : การเข้ามาและผลกระทบ. อรพินท์ คำสอนและคณะ, บรรณาธิการ. 229-276. กรุงเทพฯ: โครงการวิจัย “ปริทรรศน์ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”(สกว.).
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2557). “รัฐในภาคสมุทรและกลุ่มเกาะเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในเอกสารจีนโบราณ: สมัยโบราณถึงสิ้นสุดราชวงศ์ซ่ง” ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสายตาของจีนและตะวันตก. อรพินท์ คำสอนและคณะ, บรรณาธิการ. 61- 97. กรุงเทพฯ : โครงการวิจัย “ปริทรรศน์ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” (สกว.).
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2556). “เวียดนามกับการรับและปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมจีน,” ใน ปริทรรศน์ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เล่ม 2. วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2555). “เอกสารลำดับที่ 75 สังคีติยวงศ์และโอวาทานุสาสนี : รากฐานพุทธจักรในสมัยต้นรัตนโกสินทร์” ใน 100 เอกสารสำคัญ : สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ 19. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2555). “เอกสารลำดับที่ 100 ตำนานมูลศาสนากับประวัติศาสตร์สถาบันสงฆ์ล้านนา” ใน 100 เอกสารสำคัญ : สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ 24. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2554). “เอกสารลำดับที่ 51 คำให้การลูกเรือสำเภาจีนเกี่ยวกับสยามในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17” ใน 100 เอกสารสำคัญ : สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ 11. กรุงเทพฯ : สำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2553). “เอกสารลำดับที่ 17 ตำราพิไชยเสนา : ตำราว่าด้วยคุณสมบัติและข้อควรประพฤติของ ข้าราชการระดับสูง” ใน 100 เอกสารสำคัญ : สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2553). “ความสัมพันธ์ระหว่างพระมหากษัตริย์กับลูกขุนข้าทูลละอองในกฎมณเทียร บาล” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 30,1 (มกราคม – มิถุนายน 2553) : 7-23.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2548). “การบริหารราชการกรมวังศึกษาจากพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือนในกฎหมายตรา สามดวง” วารสารสมาคมประวัติศาสตร์ฯ 27 (2548) : 37-77.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2548). “การบริหารราชการกรมวัง ศึกษาจากพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือนในกฎหมายตราสามดวง.” วารสารสมาคมประวัติศาสตร์ฯ 27: 37-77.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2548). “ภาพลักษณ์สถาบันกษัตริย์ในกฎมณเทียรบาล.” ใน กฎมณเทียรบาลฉบับเฉลิมพระเกียรติ ผลงานวิจัย, 165-257. วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส สกว. “กฎหมาย ตราสามดวง : ประมวลกฎหมายไทยในฐานะมรดกโลก“.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2546). “ภาพลักษณ์ของสถาบันกษัตริย์กับกฎมณเทียรบาล” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 23,3 : 150-200.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2544). “สังคมนานาชาติของพระนครศรีอยุธยา” โลกประวัติศาสตร์ 7,2 (เมษายน –มิถุนายน 2544) : 4-29.
- Pimpan Silpasuwan, Branom Rodcumdee, Anchalee Rerksngarm, Monthira Udchumpisai, Sumlee Saleekul, Sulee Tongvichean, Woraporn Poopongpan, and Phawida Putthikhan. (2021). “Becoming a Thai National Female Leader on a Successful Path : A Case Study of Major General Lady Asanee Saovapap” The Journal of Values-Based Leadership Volume 14 Issue 2 Summer/Fall 2021 Article 14 July 2021 : 1-19.
- Woraporn Poopongpan. (2007). Thai Kingship during the Ayutthaya period : a note on its divine aspects concerning Indra. Silpakorn University International Journal Vol.7 (2007) : 143-171.
Proceedings
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์ วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ และอภิเศก ปั้นสุวรรณ. (2559). “การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ ทางด้านภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ในจังหวัดกาญจนบุรี.” ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 ประจำปี 2559 Tourism for All, All for Tourism, สำนักงานใหญ่ บริษัทการบินไทย (มหาชน), 26 ก.ย. 2559.
- ________. (2557). “เวียดนามในรัชสมัยจักรพรรดิมินหม่าง (ค.ศ.1820-1841).” ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ “ปริทรรศน์ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ครั้งที่ 4, โรงแรมเอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ, 24 พฤศจิกายน 2557: 1-34.
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
บทความทางวิชาการ
- ________. (2550). “กฎมณเทียรบาลในฐานะหลักฐานประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยาถึง พ.ศ. 2348: ศึกษากรณีสิทธิธรรม และหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ในฐานะผู้ปกครอง.” เอกสารประกอบการสัมมนาการเผยแพร่วิทยานิพนธ์ระดับ ดุษฎี บัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 10 สิงหาคม 2550. (อัดสำเนา)
- ________. (2548). “กฎหมายตราสามดวง : ภาพสะท้อนสังคมไทย.” ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเรื่อง ความก้าวหน้าและกระแสการศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา, 12-13 มีนาคม 2548.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2545). “แนวทางการศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจอยุธยา” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 25,1 (มิถุนายน – พฤศจิกายน 2545) : 52-69.
หนังสือ
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2565). เปิดกรุหลักฐานอยุธยา: หลากหลาย ลุ่มลึก และท้าทาย. กรุงเทพฯ : สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2564). สถาบันกษัตริย์ในกฎมณเทียรบาล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แสงดาว.
- เกรียงไกร เกิดศิริ และคณะ. (2562). งานพระเมรุ : ศิลปสถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเกี่ยวเนื่อง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มติชน.
- วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2555). สถาบันกษัตริย์ในกฎมณเทียรบาล. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- เกรียงไกร เกิดศิริ และคณะ. (2552). งานพระเมรุ : ศิลปสถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเกี่ยวเนื่อง. กรุงเทพฯ : อุษาคเนย์.