รองศาสตราจารย์ ดร.อภิเศก ปั้นสุวรรณ

Associate Professor

APISEK PANSUWAN, Ph.D.

apisekpan@yahoo.com

วุฒิการศึกษา

  • Ph.D. (Rural and Regional Development Planning) Asian institute of Technology (AIT) (2012)
  • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภูมิศาสตร์อุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2541)
  • วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์สุขภาพ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2537)

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  • การวางแผนพัฒนาภูมิภาค
  • ภูมิศาสตร์อุตสาหกรรม
  • อนามัยสิ่งแวดล้อม

วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์

  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ. “การวิเคราะห์ที่ตั้งอุตสาหกรรมการผลิตในภาคตะวันตกและภาคใต้ของประเทศไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภูมิศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2540. 
  • Apisek Pansuwan, Industrial Development in Thailand: A Macro and Micro Level Analysis., Asian institute of Technology (AIT), 2011.

ผลงานวิจัย

ผลงานวิจัย

  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ  สุเพชร จิรขจรกุล  และสุธีร์ สุนิตย์สกุล.  การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณถนนมอเตอร์เวย์สายตะวันตกภายใต้โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย. นครปฐม : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ และคณะ. การวิเคราะห์ที่ตั้งและรูปแบบการพัฒนาสุขาภิบาลอาหาร หาบเร่แผงลอย กรณีศึกษาเมืองพัทยา  จังหวัดชลบุรี. นครปฐม : สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร, 2556.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ. “การศึกษาแหล่งประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมฝรั่งเศสในจังหวัดจันทบุรี กรณีศึกษา : เหตุการณ์พิพาทไทยฝรั่งเศส ..112″. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจำปี .. 2554.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ  และกัลยา เทียนวงศ์.”การพัฒนาอุตสาหกรรมและภูมิภาคภายใต้นโยบายการกระจายอำนาจในประเทศไท“. ได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจำปี .. 2554.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ. “รูปแบบที่ตั้งและการลงทุนจากต่างประเทศของอุตสาหกรรมในประเทศไทยภายหลังการเปิดการค้าเสรี“. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะอักษรศาสตร์ ประจำปี .. 2553.
  • อภิเศก  ปั้นสุวรรณ และคณะ. “การวิเคราะห์ที่ตั้งและรูปแบบการพัฒนาสุขาภิบาลอาหาร หาบเร่แผงลอย กรณีศึกษาเมืองพัทยา  จังหวัดชลบุรี“. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยประจำปี .. 2553 จากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • ________. การพัฒนาอุตสาหกรรมในภูมิภาคของประเทศไทย. (ทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร).
  • ________. อุตสาหกรรมขนาดย่อมกับการพัฒนาเทคโนโลยีในชนบท. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2547.
  • ________. อุตสาหกรรมขนาดย่อมในภูมิภาคตะวันตก. นครปฐม : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547.
  • ________. การวิเคราะห์การจัดแบ่งเขตความเจริญในการจัดประเมินการจัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์. นครปฐม : สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร, 2546.

ผลงานวิจัยร่วม

  • นันทนิตย์ วานิชาชีวะ และคณะ. (2564). “การพัฒนาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU” สำนักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • วรพร ภู่พงศ์พันธุ์ วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ และอภิเศก ปั้นสุวรรณ. (2560). “การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ทางด้านภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ในจังหวัดกาญจนบุรี“. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
  • กัลยา เทียนวงศ์ และอภิเศก ปั้นสุวรรณ. (2559). “แนวทางการบูรณาการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษา อำเภอนครชัยศรีจังหวัดนครปฐม“. นครปฐม : คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • กัลยา เทียนวงศ์  อภิเศก ปั้นสุวรรณ  และบูรณะศักดิ์ มาดหมาย. (2556). “การพัฒนาอุตสาหกรรมและภูมิภาคภายใต้นโยบายการกระจายอำนาจในประเทศไทย“. นครปฐม : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • แพร่พรรณ เหมวรรณ และคณะ. (2554). “โลกาภิวัฒน์และความเหลื่อมล้ำของภูมิภาคในบริบทของการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทย“. นครปฐม : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Proceedings

ระดับชาติ

  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ. (2564). “การพัฒนาตลาดอาหารปลอดภัย กรณีศึกษา Silpakorn Green Market” การประชุม วิชาการระดับชาติ SMART ครั้งที่ 10. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 25 มิถุนายน 2564.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ. การศึกษาเส้นทางการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้เชิงภูมิศาสตร์ในจังหวัดกาญจนบุรี (The Study of Geographical Learning Tourism in Kanchanaburi). การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 12 “สานพลังเครือข่ายอุดมศึกษา เพื่อความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนในระหว่างวันที่ 27-29 พฤษภาคม 2561 โรงแรมธรรมรินทร์ธนา .ตรัง.
  • มัลลิกา หัตถกิจ และอภิเศก ปั้นสุวรรณ. (2560). “การศึกษาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ภายในเกาะเมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (A Study of Historical Tourism Route In Ayutthaya City Island, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province).” การประชุมวิชาการระดับชาติ SMART ครั้งที่ 7. คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 30 มิถุนายน 2560.
  • กัลยา เทียนวงศ์ และอภิเศก ปั้นสุวรรณ. (2558). “การศึกษาศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม.” การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 4: 2558 “การพัฒนางานวิจัย บนฐานแนวคิดใหม่ เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน” “ Development of New and Innovative Research for the AEC ระหว่างวันที่ 17-18 ธันวาคม 2558 ศูนย์ประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

ระดับนานาชาติ

  • Pansuwan, A. (2017). “Rural Development Through Rural Industrial Development.” In Proceedings of an international Forum on Education for Rural Transformation Conference, 13-15 Nov 2017, Asian Institute of Technology, Thailand.

เอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอน

  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ. “เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 416 202 ภูมิศาสตร์พืชพรรณ.” ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2546. (อัดสำเนา)

หนังสือ ตำรา

  • สมชาติ อู่อ้น, อภิเศก ปั้นสุวรรณ และแพร่พรรณ เหมวรรณ. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ. ภูมิศาสตร์พืชพรรณ. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2553.

บทความทางวิชาการ

ระดับชาติ

  • สมคิด ภูมิโคกรักษ์ อภิเศก ปั้นสุวรรณ กมลพร อุปการแก้ว อริศา จิระศิริโชติ และศุภฤกษ์ โออินทร์. “แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานด้านการบินอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”. วารสารราชภัฏเพชรบูรณ์สาร ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2566): หน้า 63-75.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ และกัลยา เทียนวงศ์. “การพัฒนาสารสนเทศเพื่อสนับสนุนตลาดอาหารปลอดภัย กรณีศึกษา ศิลปากรกรีนมาร์เก็ต”. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 43, ฉบับที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2566) : หน้า 23-40.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ  สุเพชร จิรขจรกุล และสุธีร์ สุนิตย์สกุล. (2561).การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณถนนมอเตอร์เวย์สายตะวันตก ภายใต้โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย (An Analysis of Regional Development through the West Motorway under Dawei Special Economic Zone Project) Vol 11 No 2: ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ (พฤษภาคมสิงหาคม 2561), หน้า 3070-3081.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ  สุเพชร จิรขจรกุล และสุธีร์ สุนิตย์สกุล. การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน สภาพเศรษฐกิจ สังคม และอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน ในพื้นที่ข้างเคียงถนนมอเตอร์เวย์สายตะวันตก ภายใต้โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ NEUNIC 2017 21 กรกฏาคม 2560 มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ .ขอนแก่น
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ. “การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชนในพื้นที่ข้างเคียงถนนมอเตอร์เวย์สายตะวันออก (กรุงเทพฯชลบุรี)” การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3” .. 2560 23 – 24 มีนาคม 2560 ศูนย์วัฒนธรรมภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ส่วนวังจันทน์) .พิษณุโลก
  • ____________. “การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา จังหวัดสมุทรสงครามการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี .. 2558 23 มกราคม 2558 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ์ มรภ.บุรีรัมย์ .บุรีรัมย์
  • ____________. “อาหารหาบเร่แผงลอยกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวกรณีศึกษาเมืองพัทยาการประชุมวิชาการปี 2556 “แม่โจ้ 80 ปี ฝากความดีไว้ในแผ่นดิน” 3 – 4 ธันวามคม 2556 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ .เชียงใหม่
  • ____________. “การวิเคราะห์ที่ตั้งและรูปแบบการพัฒนาสุขาภิบาลอาหาร หาบเร่ แผงลอย กรณีศึกษา เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรีการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยและสร้างสรรค์ระดับชาติและนานาชาติ ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ครั้งที่ 7 “บูรณาการศาสตร์และศิลป์” 24 – 26 มีนาคม 2557 มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังท่าพระ กรุงเทพมหานครฯ
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ และคณะการศึกษาภาวะเศรษฐกิจ สังคม และทัศนคติของผู้บริโภคอาหารหาบเร่ แผงลอยในเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรีการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัย/สร้างสรรค์ศิลปากรวิจัยครั้งที่ 4 “บูรณาการศาสตร์และศิลป์คือศิลปากร” 19 – 21 มกราคม 2554 ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร .นครปฐม
  • กัลยา เทียนวงศ์  สุเพชร จิระขจรกุล  และอภิเศก ปั้นสุวรรณ. “ภูมิสารสนเทศกับการวิเคราะห์หาที่ตั้งศูนย์จำหน่ายอาหารหาบเร่ แผงลอย หาดจอมเทียน เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรีวารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 (2556) : 160 – 181.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ และสุธีร์ สุนิตย์สกุล. “แนวทางการพัฒนาหาบเร่ แผงลอยจำหน่ายอาหารในเมืองพัทยาวารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 (2555) : 250 – 272.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ. “รูปแบบทางพื้นที่ของการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทย : .. 2539 – 2548″. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 (2551) : 247 – 264.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ และคณะ. “รูปแบบการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงที่ตั้งและผลกระทบของการพัฒนาอุตสาหกรรมประเทศไทย. วารสารภูมิศาสตร์. 34, 3 (ธันวาคม 253): 37-57.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ. “อุตสาหกรรมขนาดย่อมในภูมิภาคตะวันตก.” วารสารภูมิศาสตร์. 30, 1 (มีนาคม 2548) : 45-54.
  • ____________. “นโยบายและมาตรการในการพัฒนาอุตสาหกรรมในภูมิภาค.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 21-22, 2 (2544-2545) : 161-198.
  • ____________. “อุตสาหกรรมชนบท.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 24,1-2 (มิถุนายน 2544-พฤษภาคม 2545) : 210-244.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ และสุธีร์ สุนิตย์สกุล. “การค้ากุ้งกับปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 19-20, 1 (2544-2545) : 164-181.
  • อภิเศก ปั้นสุวรรณ. “ปัญหาน้ำเน่าเสียในแม่น้ำท่าจีนในเขตจังหวัดนครปฐม.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 21, 2 (ธันวาคม 2541- พฤษภาคม 2542) : 221-233.
  • ____________. “การกระจายอุตสาหกรรมไปสู่ภูมิภาคของประเทศไทย.” วารสารภูมิศาสตร์ 24, 1 (มีนาคม 2542) : 45-54.
  • ____________. “การวิเคราะห์ที่ตั้งอุตสาหกรรมการผลิตในภาคตะวันตกและภาคใต้ของประเทศไทย.” วารสารร่มพฤกษ์ 17, 3 (กุมภาพันธ์พฤษภาคม 2542) : 90-104.

ระดับนานาชาติ

  • Apisek Pansuwan. (2018). INDUSTRIAL LOCATION PATTERNS BASED ON FOREIGN DIRECT INVESTMENT IN THAILAND AFTER TRADE LIBERALIZATION. Humanities, Arts and Social Sciences Studies Vol.18 (2): pp. 511-534.
  • Pansuwan, A. and et.al. An Analysis of Location and Sanitary Development of Food Hawker Centers A Case Study of Pattaya Municipality, Chonburi Province, The 8TH GMSARN Conference 2013 at Mandalay, Myanmar
  • Tienwong, K. and Pansuwan, A. “Regional Industrial Specialization Under Decentralization Policy in Thailand”. Academic Research International, Vol.3, Number 2 (2012): 32-42.
  • Pansuwan, A. “Industrial Decentralization Policies and Industrializaton in Thailand”. Silpakorn University International Journal, Vol.9-10: p. 117-147, 2009-2010.
  • ___________. “Regional Specialization and Industrial Concentration in Thailand, 1996 – 2005”. Indonesian Journal of Geography, 1 June 2009 (1-17).
  • Pansuwan, A. and Routray, J.K.. “Policies and Pattern of industrial development in Thailand.” Geo Journal, 76 (2011): 25-46.
  • Pansuwan, A. “Industrial Decentralization Policies and Industrialization in Thailand.” Silpakorn University International Journal, 9 (2009) – 10 (2010): 117-147.
  • Pansuwan, A. and Kityuttachai, K.. “How is Thai Industrial Location Policy Get Beneficiary under GMSECs?.” GMSARN International Journal, 3 (2009): 165-170.
  • Pansuwan, A. and Jirakajohnkool, S.. “Regional Specialization and Industrail Concentration in Thailand, 1996-2005.” Indonesia Journal of Geography, 41 (2009): 1-17.
  • ___________. “Technology Transfer in Rural Industries of Thailand : The Case of Dessert and Palm Tree Industries.” Indonesia Journal of Geography, 38 (2006) : 41-52.

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

  • อภิเศก ปั้นสุวรรณและคณะ. การประเมินโครงการดนตรีในสวนของกรุงเทพมหานคร  ปีงบประมาณ 2547. นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547.
  • ________. “รูปแบบทางพื้นที่ของการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทย“. การประชุมทางวิชาการศิลปากรวิจัย ครั้งที่ 2″ 19 พฤศจิกายน 2551 มหาวิทยาลัยศิลปากร  วิทยาเขตวังท่าพระ.