สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ
- สัทวิทยาจีนโบราณ
- ภาษาจีนโบราณ
- การแปลคัมภีร์พุทธศาสนาภาษาจีน
วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์
- อภิวัฒน์ คุ้มภัย. “คำเชื่อม ér ในหนังสือหลุนยฺหวี่และการแปลเป็นไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
ผลงานวิจัย
- อภิวัฒน์ คุ้มภัย. “การแปลคำเชื่อมในภาษาจีนโบราณเป็นภาษาไทย.” ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำปี พ.ศ. 2549 จากคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- _________. “การศึกษาระบบเสียงภาษาจีนสมัยราชวงศ์ถัง“. ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำปี พ.ศ. 2555 จากคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- Kumpai, Apiwat. “Phonological Adaptation of Sanskrit Loanwords in Datang Xiyuji”. The research was financially supported by Faculty of Arts, Silpakorn University, 2011.
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
บทความทางวิชาการ บทวิจารณ์
- อภิวัฒน์ คุ้มภัย. “การเปลี่ยนแปลงทางความหมายของคำในภาษาจีน.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 27, 1 (มิถุนายน – พฤศจิกายน 2549): 7-26.
- _________. “การแปลคำเชื่อมในภาษาจีนโบราณเป็นภาษาไทย“. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 30,1 (2551) : 150 – 175.
- _________. “Phonological Adaptation of Sanskrit Loanwords in Datang Xiyuji”. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 33,2 (2554).
หนังสือ
- อภิวัฒน์ คุ้มภัย (ผู้ร่วมเขียน). (2558). “ภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว”.นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (ตีพิมพ์เมื่อ ธ.ค. 2558)
- อภิวัฒน์ คุ้มภัย. “พจนานุกรมสำเนียงจีนโบราณ Lexicon of Chinese Reconstructed Pronunciation.” (กำลังดำเนินการ)
- _________. “ดั่งพฤกษาสนพลิ้วบนหมื่นภู ความรู้พื้นฐานในการสืบสร้างสำเนียงจีนสมัยราชวงศ์ถัง.” นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2555.
เอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอน
- อภิวัฒน์ คุ้มภัย. “เอกสารคำสอนวิชา 437 215 ภาษาจีนโบราณ.” ภาควิชาภาษาปัจจุบันตะวันออก สาขาภาษาจีน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2549. (อัดสำเนา)
- _________. “เอกสารประกอบการสอนวิชา 437 214 พัฒนาการภาษาจีน.” ภาควิชาภาษาปัจจุบันตะวันออก สาขาภาษาจีน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2550. (อัดสำเนา)