ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารียา หุตินทะ

Assistant Professor

Areeya Hutinta, Ph.D.

areeya_tubkaew@hotmail.com, Hutinta_A@silpakorn.edu

วุฒิการศึกษา

  • อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วรรณคดีเปรียบเทียบ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2551)
  • อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (วรรณคดีเปรียบเทียบ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2539)
  • อักษรศาสตรบัณฑิต (วรรณคดีไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2533)

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  • วรรณกรรมปัจจุบัน

วิทยานิพนธ์

  • อารียา หุตินทะ. “แนวคิดกุลสตรีในนวนิยายของนักเขียนสตรีเขมร.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.
  • อารียา หุตินทะ. “ภาพลักษณ์สังคมไทยในเรื่องสั้นไทยร่วมสมัยระหว่างพุทธศักราช 2534-2536.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตร  มหาบัณฑิต หน่วยวิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538.

ผลงานวิจัย

ผลงานวิจัย

  • อารียา หุตินทะและนันทวัลย์ สุนทรภาระสถิตย์. ราชบุรีในวรรณคดีการสงคราม: บทบันทึกภูมิปัญญาการสงครามในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น. งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (กำลังดำเนินการ).
  • สร้อยสน สกลรักษ์และคณะ.(2560). การศึกษารูปแบบ วิธีการสอน และวิเคราะห์เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ของการสอนอ่าน-เขียนภาษาไทยในระดับประถมศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 9. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
  • รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ และคณะ. (2558). “จิตวิญญาณ ประชาธิปไตย เรื่องสั้น 40 ปี นับจาก 14 ตุลา 2516.” ทุนอุดหนุนการวิจัย จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2555. (ผู้ร่วมวิจัย)

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

  • สร้อยสน สกลรักษ์ และคณะ. “การศึกษารูปแบบ วิธีการสอน และวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของการสอนอ่าน-เขียนภาษาไทยระดับประถมศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 9.” วารสารวิธีวิทยาการวิจัย (Journal of Research Methodology: JRM), ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2560) : 303-327.
  • อารียา หุตินทะ. (2558). “พลวัตรการตามหาประชาธิปไตยของคนหนุ่มสาว: ศึกษาจากเรื่องสั้นไทย .. 2516 – ปัจจุบัน.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 7, 3 (กันยายนธันวาคม 2558): 123-144. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2)
  • อารียา หุตินทะ. (2557). “เมื่อสตรีตามหาประชาธิปไตยในสังคมปิตาธิปไตย.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 36, 1 (.. – มิ.. 2557): 68-95. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

หนังสือ ตำรา

  • อารียา หุตินทะและนันทวัลย์ สุนทรภาระสถิตย์ “การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง.” ใน ภาษาไทยเพื่ออักษรศาสตร์, 133-186. สมชาย สำเนียงงาม, บรรณาธิการ. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2564.
  • อารียา หุตินทะ “การเขียนแนะนำหนังสือ.” ใน ภาษาไทยเพื่ออักษรศาสตร์, 199-214. สมชาย สำเนียงงาม, บรรณาธิการ. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2564.
  • อารียา หุตินทะ. “การอ่านออกเสียง.” ใน การใช้ภาษาไทย, 188-207. จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสำราญ, บรรณาธิการ. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547.
  • อารียา หุตินทะ. “การเขียนแนะนำหนังสือ.” ใน การใช้ภาษาไทย, 188-207. จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสำราญ, บรรณาธิการ. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547.

บทความทางวิชาการ

ระดับนานาชาติ

  • Hutinta, Areeya.(2010). “Nation and Ethnicity in Khmer Literary Heroines : The works of Pal Vanriraks” in Proceedings of the International Conference on Language, Society and Culture in Asian Contexts January 6-7 2010. Faculty of Humanities and Social Sciences, Mahasarakam University, Thailand and Centre for Study Languages, School of Humanities, Universities of Hyderabud, India : 515-523.
  • Hutinta, Areeya.(2008). “The Concept of ”Perfectly Virtuous Women”: Identity and Power of Khmer Women and the Nation.” In MANUSAYA Journal of Humanities special issue, 15 (2008) : 62-83.

ระดับชาติ

  • สิขรินทร์ สนิทชน และ อารียา หุตินทะ. (2564). อสุรกายและความเป็นอื่นในยักษิณีนฤมิต.การประชุมวิชาการระดับชาติด้านภาษาไทย “วิวิธวิจัยภาษาไทย” ครั้งที่ 3 วันที่ 22 พฤษภาคม 2564 ณ ห้องประชุมออนไลน์โปรแกรม zoom meeting โดย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
  • มุกรินทร์ แพรกนกแก้ว และอารียา หุตินทะ.(2563). “อาหารกับอัตลักษณ์ของตัวละครเอกหญิงในนวนิยายและเรื่องสั้นของอุรุดา โควินท์” ใน proceedings โครงการประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 10 เรื่อง“การยกระดับคุณภาพการศึกษาและพัฒนามนุษย์ในศตวรรษที่ 21”วันที่ 25-26 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2563 นำเสนอด้วยวาจาแบบออนไลน์ : H712-H720.
  • อารียา หุตินทะ. (2562). “ครึ่งหลับเธอฟื้น ครึ่งตื่นเธอสูญหาย : โลกที่กำลังสูญสลายของอ้อมแก้ว กัลยาณพงษ์.” ใน กุสุมา รักษมณี (บรรณาธิการ). หนังสือรวมบทความภาษาสรร วรรณกรรมสาร: เนื่องในวาระ 50 ปี ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปฐม: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร: 309-324.
  • ดวงกมล จันทร์ศิริ และ อารียา หุตินทะ.(2562).“บทบาทและจิตวิญญาณเชิงนิเวศของผู้หญิงใน “ลําเนาป่า”การประชุมวิชาการระดับชาติด้านภาษาไทย “วิวิธวิจัยภาษาไทย” ครั้งที่ 2 วันที่ 25 พฤษภาคม 2562 คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 228 – 238.
  • สิขรินทร์ สนิทชน และอารียา หุตินทะ. (2558). “นวนิยายแนวโรแมนติกซัสเสปนซ์ : วรรณกรรมประเภทใหม่กับมุมมองเพศสถานะแบบใหม่.” การประชุมวิชาการศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 8 : บูรณาการศาสตร์และศิลป์, ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 12-13 ก.พ. 2558.
  • วิชลดา ยิ้มแย้มและอารียา หุตินทะ. (2558).“ภาพครอบครัวในนวนิยายซีไรต์ : ภาพสะท้อนการเปลี่ยนแปลงของครอบครัวไทย.” การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 5 คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 3 ก.ค. 2558 หน้า 46-57.
  • บุศราพรรณ ประจง และอารียา หุตินท. (2560). “ศักดิ์(ศรี)และสิทธิ์ของความเป็นมนุษย์ในวรรณกรรมของชาติ กอบจิตติ (..    2522-..2524).” ใน รวมบทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 7, 59-70. คณะอักษรศาสตร์     มหาวิทยาลัยศิลปากร, 30 มิ.. 2560.
  • สุวรรณี มุสิกสาร และอารียา หุตินทะ. (2560). “ความยากจนในวรรณกรรมของจำลอง ฝั่งชลจิตร (.. 2521 – 2528).” ใน รวมบทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 7, 109-120. คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 30 มิ.. 2560.
  • เสาวคนธ์ สุขรักษ์ และอารียา หุตินทะ. (2559). “เส้นทางชีวิตผู้ยากไร้ใจความแห่งวรรณกรรมเพื่อชีวิต : ตัวละครชนชั้นล่างใน  วรรณกรรมยุคแรกของ วิมล ไทรนิ่มนวล.” ใน รวมบทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6: อัตลักษณ์ แห่งเอเชีย 2016, 101-110. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  17 มิ.. 2559.
  • อารียา หุตินทะ. (2551). “สรีครบ่ลกขณ์ : อัตลักษณ์ประกอบสร้างของสตรีเขมรเพื่อชาติ“. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 : 218 – 246.
  • ________. (2549). ” ‘เราจะต้องเรียนให้เก่ง‘ : ข้อเสนอของบัล วัณณณรีรักษ์ ต่อยุวนารีเขมร ปี 2005.” ใน      วารวัลย์ รวมบทความวิชาการเนื่องในวาระเกษียณอายุราชการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วัลยา ช้างขวัญยืน 30 กันยายน 2549, 265-282.นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • ________. (2549). “กรอบ : กรณีศึกษาการวิจารณ์แนวสตรีนิยม.” ใน ภาษาและวรรณกรรมสาร ฉบับ ภาษาและวรรณกรรมกับสังคม, 204-228. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • ________. (2548). “บทละครแบบภาพยนตร์ : บทพระราชนิพนธ์สร้างสรรค์อันสะท้อนยุคสมัย.” ภาษาและวรรณกรรมสาร ฉบับ ภาษาและวรรณกรรม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ปราชญ์แห่งสยามประเทศ, 125-154. กรุงเทพฯ : พี. เพรส, 125-156.
  • ________. (2546). “โลกเศร้าแต่พวกเขายังยิ้ม : ชีวิตสามัญของชุมชนห้องแถวคุณแม่ทองจันทร์ในช่างสำราญ.” วารสารอักษรศาสตร์ 32 (กรกฎาคมธันวาคม) : 100-127.
  • ________. (2546). “จากวิธาวีถึงบุสสิบา : 60 ปี แห่งการเดินทางของผู้หญิงเขมร.” ภาษาและวรรณกรรมสาร ฉบับ ภาษาและวรรณกรรมไม่เคยตาย, 158-196. กรุงเทพฯ : แซทโฟร์ พริ้นติ้ง.
  • ________. (2543). “เสียงพูดของสัตว์ชั้นต่ำในกวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 23, 1 (มิถุนายนพฤศจิกายน) : 106-130.
  • ________. (2541). “ลักษณะผสมผสานระหว่างสุขนาฏกรรม (comedy) และวรรณกรรมเสียดสี(satire) ใน วรรณกรรมแนวขบขันเรื่องทำตามฝัน.” ใน ทอถักอักษรา รวมบทความทางวิชาการ : ภาษาและวรรณคดีไทย, 187-193. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอน

  • อารียา หุตินทะ. “เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 411 213 วิเคราะห์วรรณกรรมไทยร่วมสมัย.” คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548. (อัดสำเนา)
  • อารียา หุตินทะ. “เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 411 267 วรรณกรรมหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล.” คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2558. (อัดสำเนา)