ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา รักยุติธรรม

Assistant Professor

Atchara RAKYUTIDHARM, Ph.D.

email@email.com

วุฒิการศึกษา

  • Doctor of Philosophy (Social Science), Chiang Mai University
  • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการมนุษย์และสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลงานทางวิชาการ

หนังสือ ตำรา

  • สร้อยมาศ รุ่งมณี และอัจฉรา รักยุติธรรม (แปล).ฟิลลิป เฮิร์ช และ นิโคลัส แท็ปป์ (บรรณาธิการ). เส้นทางและร่องรอย เมืองไทยกับงานของ แอนดรู เทอร์ตัน. เชียงใหม่: Silkworm Book. 2557.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม. “โฉนดชุมชนบนพื้นที่เมือง”.ใน พงษ์ทิพย์ สำราญจิตต์ (บรรณาธิการ). โฉนดชุมชน: จินตภาพที่จับต้องได้. กรุงเทพฯ: กลุ่มปฏิบัติงานท้องถิ่นไร้พรมแดน. 2556.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม (บรรณาธิการ). ผมไม่มีคำตอบ: หกสิบปี .ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์กับยี่สิบปีขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมด้านสิทธิชุมชนและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ. เชียงใหม่: คณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชนภาคเหนือ, 2551.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม (บรรณาธิการ). โลกาภิวัตน์ ปะทะท้องถิ่น. เชียงใหม่: โครงการสื่อสารแนวราบ. 2549.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม (บรรณาธิการ). เหมืองฝาย พลังชุมชนในกระแสการเปลี่ยนแปลง. เชียงใหม่: สมัชชาองค์กรเหมืองฝายลุ่มน้ำภาคเหนือ, 2549.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม (บรรณาธิการ). เกษตรกรรมยั่งยืนหลากหลายมุมมองส่องทางเกษตรกรรมไทย. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการจัดงานเกษตรกรรมยั่งยืน, 2548.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม. “นิเวศวิทยาท้องถิ่น การต่อสู้ของประชาชนชายของในการสร้างพื้นที่ทางสังคมและความเข้าใจต่อชุมชนในเขตป่าใน ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี (บก.) ทบทวนภูมิปัญญาท้าทายความรู้: ความรู้กับการเมืองเรื่องทรัพยากร. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน), 2548.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม (บรรณาธิการ). ระบบเกษตรกรรมกับทรัพยากรธรรมชาติ: องค์ความรู้และระบบการจัดการเพื่อสร้างความเกื้อกูลโดยชุมชนเกษตรกรรมยั่งยืน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน (ประเทศไทย), 2547.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม (บรรณาธิการ). ที่ดินและเสรีภาพ. เชียงใหม่: Black Lead, 2547.
  • ศยามล ไกยูรวงศ์, กฎษฎา บุญชัย, และอัจฉรา รักยุติธรรม. “ขบวนการเครือข่ายกลุ่มเกษตรกรภาคเหนือเพื่อพิทักษ์สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและธำรงอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์”. ใน ผาสุก พงษ์ไพจิตร และคณะ. วิถีชีวิตวิธีสู้ ขบวนการประชาชนร่วมสมัย. เชียงใหม่: ตรัสวิน, 2545.
  • Atchara Rakyutidharm, “Patronage, Dominance, or Collaboration? Thailand’s NGOs and the Thai Health Promotion Foundation”. In Pranee Liamputtong (ed.), Contemporary Socio-Cultural and Political Perspectives in Thailand, (517-532). Dordrecht: Springer, 2014.

บทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ และ Proceeding

  • อัจฉรา รักยุติธรรม. “พื้นที่สูงท่ามกลางการช่วงชิง: ความหมายของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และอัตลักษณ์ของชาวนาบนพื้นที่สูงวารสารสังคมศาสตร์ (ชาวนาใต้กระแสทุน) ปีที่ 25 ฉบับที่ 1/2556 (.19-54).
  • อัจฉรา รักยุติธรรม.  “การพัฒนาทางเลือกกระแสหลักวารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 30 ฉบับที่ 2, 2554 (.13-43)
  • Atchara Rakyutidharm. “Making of Community’ in a Commercialized Community in Northern Thailand.” Southeast Asian Studies, 47 (1), 2009.
  • Atchara Rakyutidharm. “Forest fire in the context of territorial rights in northern Thailand”. In Peter Moore, David Ganz, Lay Cheng Tan, Thomas Enters and Patrick B. Durst (eds.) Communities in Flames: Proceedings of an International Conference on Community Involvement in Fire Management. Bangkok: Food and Agriculture Organization of the United Nations Regional Office for Asia and the Pacific, 2002.

บทความนำเสนอในเวทีวิชาการ

  • อัจฉรา รักยุตธิรรม. “ชนบทยุคใหม่ ทำไมวาทกรรมเดิม บทวิเคราะห์การผลิตซ้ำ วาทกรรรม โง่ จน เจ็บ โดยนักพัฒนาเอกชนไทยบทความนำเสนอในการประชุมวิชาการสังคมเปลี่ยนผ่าน/เปลี่ยนผ่านสังคม: 50 ปี สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่วันที่ 15-16 กุมภาพันธ์ 2557 คณะสังคมศาสตร์และคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม. “การพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม กรณีศึกษากลุ่มคนไร้บ้านที่ไม่อยากมีส่วนร่วมในการพัฒนาบทความนำเสนอในการประชุมวิชาการคนในกระแสการเปลี่ยนแปลงวันที่ 16 กันยายน 2556 ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม. “ความสัมพันธ์รัฐกับเอ็นจีโอไทย ในยุคการล่มสลายของของชุมชนจินตกรรม””. งานเสวนาวิชาการ 6 ทศวรรษกับการเปลี่ยนแปลงในสังคมท้องถิ่นล้านนาเนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการ ศาสตราจารย์ ดร.ธเนศวร์ เจริญเมือง.  วันที่ 21 ธันวาคม 2554 คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม. “กับดักจินตนาการทางเลือกที่สามของเอ็นจีโอบทความนำเสนอในเวทีเสวนาทางวิชาการทบทวนขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในประเทศไทย” 17 กันยายน 2553 ห้องประชุมจุมภฏพันธุ์ทิพย์ อาคารประชาธิปกรำไพพรรณี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม. “การสร้างพื้นที่ที่สามผ่านการซื้อขายอาหารระหว่างพ่อค้าเร่กับชุมชนบนพื้นที่สูงบทความนำเสนอในการประชุมประจำปีทางมานุษวิทยาครั้งที่ 9: ปากท้องของกิน จริยธรรมและการเมืองเรื่องอาหารการกิน 25-27 มีนาคม 2553 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร กรุงเทพฯ.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม และคณะ. “การต่อรองบนเส้นพรมแดน: ปฏิบัติการในชีวิตประจำวันของกลุ่มชาติพันธุ์ในชุมชนชายแดนไทย.” บทความเสนอในการประชุมทางมานุษยวิทยาประจำปีครั้งที่ 6 เรื่องเฝ้าระวังรัฐจากมุมมองชีวิตประจำวันวันที่ 18-20 มีนาคม 2550 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร กรุงเทพฯ.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม. “สิทธิชุมชนในกระแสทุนนิยม”, บทความเสนอในการประชุมทางวิชาการเนื่องในโอกาสการเกษียณอายุราชการของ ดร.ชยันต์ วรรธนะภูติ วันที่ 24-25 มกราคม 2547 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2547.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม. “การต่อสู้เพื่อที่ดินผืนสุดท้ายของเกษตรกรในจังหวัดลำพูนบทความเสนอในการประชุมพลังของสังคมไทยในทศวรรษหน้า ทางเลือกและความจริง สภาวิจัยแห่งชาติ วันที่ 19-20 ธันวาคม 2546 โรงแรมแกรนด์มิราเคิล กรุงเทพฯ.
  • Atchara Rakyutidharm. “Examining Thai NGOs’ Rhetoric and Practices of “Self-reliant Community” A paper presented at the 12th International Conference on Thai Studies, University of Sydney, 21 – 24 April 2014.
  • Peter Vandergeest and Atchara Rakyutidharm. “Alternative Agriculture NGOs and Political Conflict in Thailand.” A paper presented at the 2011 Biennial Conference of the Canadian Council for Southeast Asian Studies, October 13-15, Toronto, 2011.
  • Atchara Rakyutidharm. “Challenges of Field-based Teaching”. A paper presented at The Southeast Asian Geography Association (SEAGA), Hanoi Vietnam, November 22-28, 2010.
  • Atchara Rakyutidharm.  “Constructing Knowledge through Hybrid Identity”. A paper presented in RGJ seminar series: Post-Modernism and Social Research 23th January 2010, Organized by Doctor of Philosophy Program in Social Science (International Program) Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University and The Royal Golden Jubilee Ph.D. Program.
  • Atchara Rakyutidharm. “No more Land for Food?” A Paper presented in the 10th International Conference on Thai Studies, Thamasart University Bangkok, Thailand; January 9-11, 2008.
  • Atchara Rakyutidharm. “Making of Community through Political and Economic Globalization”. A paper presented in Southeast Asia Council Conference: Beyond Intellectual and Political Boundaries: Southeast Asian Studies in the 21st Century, October 19 – 21, 2007, Québec City, QC, organized by Canadian Council of Southeast Asian Studies (CCSEAS).
  • Atchara Rakyutidharm. “Remaking of “Community” in the Context of Intensive Connectivity”, a paper presented in RCSD International Conference: Critical Transitions in the Mekong Region January, 29-31, 2007, Chiang Mai Thailand, 2007.

งานวิจัย

  • อัจฉรา รักยุติธรรม. โครงการการวิเคราะห์ช่องว่างการดำเนินงาน และองค์ความรู้เกี่ยวกับคนในพื้นที่สาธารณะ: คนไร้บ้านเด็กเร่ร่อน และผู้ป่วยข้างถนนเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ เสนอ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). 2557.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม. การเมืองของการลดทอนความเป็นการเมือง : การปรับความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรพัฒนาเอกชนรัฐ และประชาชน. โดยการสนับสนุนของทุนพัฒนาอาจารย์รุ่นใหม่ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมหาวิทยาลัยศิลปากร. 2557.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม และคณะ. โครงการสังเคราะห์องค์ความรู้และพัฒนานวัตกรรมศูนย์พักคนไร้บ้าน. เสนอสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). 2555.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม. การศึกษาการถือครองที่ดินและการจัดการที่ดินกับความเป็นธรรมทางสังคม: กรณีศึกษาชุมชนเพชรคลองจั่น และชุมชนหลัง สน.ทองหล่อ (ชุมชนภายใต้เครือข่ายสลัมสี่ภาค) งานวิจัยภายใต้ชุดการศึกษาวิจัยโครงการศึกษาการถือครองที่ดินและการจัดการที่ดินกับความเป็นธรรมทางสังคม กรณีศึกษาพื้นที่เครือข่ายปฏิรูปที่ดินแห่งประเทศไทย (คปท.). 2555.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม และคณะ. โครงการรวบรวมและสังเคราะห์ข้อมูลปัญหาและผลกระทบจากโครงการหมู่บ้านป่าไม้แผนใหม่ เสนอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. 2549.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม และคณะ. ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของความสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์ในชุมชนชายแดนไทย กรณีศึกษาหมู่บ้านในสอย ตำบลปางหมู อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน สนับสนุนสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. 2548.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม และคณะ. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการบริหารจัดการองค์กรของเครือข่ายกลุ่มเกษตรกรภาคเหนือ เสนอโครงการนำร่องเพื่อพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน ภูมินิเวศน์เครือข่ายกลุ่มเกษตรกรภาคเหนือ. 2547.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม และคณะ. การเลี้ยงวัวควายในเขตป่าอนุรักษ์ เสนอโครงการนำร่องเพื่อพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน ภูมินิเวศน์เครือข่ายกลุ่มเกษตรกรภาคเหนือ. 2547.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม และคณะ.โครงการศึกษาการจัดการที่ดินระดับท้องถิ่น ภายใต้มูลนิธิสถาบันที่ดิน โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2545-2547.
  • อานันท์ กาญจนพันธุ์ และคณะ. โครงการศึกษาวิจัยระบบการเกษตรแบบไร่หมุนเวียน สถานภาพและการเปลี่ยนแปลง โดยคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สนับสนุนงบประมาณโดยกระทรวงเกษตร และสหกรณ์. 2545-2547. (เป็นนักวิจัยร่วมในโครงการ)
  • อัจฉรา รักยุติธรรม และคณะ.โครงการเข้าถึงระบบบริการและสวัสดิการของเกษตรกรในพื้นที่อนุรักษ์ กรณีศึกษาบ้านแม่คองซ้าย อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการพัฒนาระบบสวัสดิการเพื่อคนยากจนและคนด้อยอำนาจในประเทศไทย โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2545.

วิทยานิพนธ์

  • Atchara Rakyutidharm. “Constructing the Meanings of Land Resource and a Community in the Context of Globalization”. Ph.D. Dissertation in Social Science, Chiang Mai University. 2009.
  • อัจฉรา รักยุติธรรม. “นิเวศวิทยาการเมืองของปัญหาไฟป่าในประเทศไทย: กรณีศึกษาปัญหาไฟป้าในอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.2543.

ความเชี่ยวชาญ

  • การเมืองของการพัฒนา
  • การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ, การเกษตรยั่งยืน
  • คนชายขอบ, คนด้อยโอกาส, คนไร้บ้าน, กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง