ผลงานวิทยานิพนธ์
ระดับปริญญาเอก
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2556). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ขบวนการและขบวนการโต้กลับ: กรณีศึกษาการเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มคนเสื้อแดง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549-2553. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ระดับปริญญาโท
- เอกพล เสียงดัง. (2550). ผลสะเทือนจากการต่อสู้ของขบวนการคนจนและคนด้อยอำนาจ ในสังคมไทยตั้งแต่ปี 2531-2549. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สาขาวิชาที่สนใจ
- การเมืองภาคประชาชนและขบวนการทางสังคม
- สื่อและการเมืองดิจิทัล
- ประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่
- ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติสำหรับนักรัฐศาสตร์
ผลงานวิชาการที่ดำเนินการเสร็จแล้ว
โครงการบริการวิชาการ :
ปี 2566
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2566). สถานภาพการศึกษาพัฒนาการและแนวทางยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการธุรกิจเศรษฐกิจฐานรากภายใต้บริบททางเศรษฐกิจการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดระยะเวลา 3 ทศวรรษที่ผ่านมา : บทสังเคราะห์งานวิจัยไทยและนัยยะเชิงนโยบายที่ควรพิจารณา. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.). [โครงการวิจัยย่อยภายใต้ชุดโครงการวิจัยของ ภาคภูมิ ทิพคุณ และคณะ. (2566). โครงการการสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยตามแผนยุทธศาสตร์ ววน. เพื่อการสื่อสารสาธารณะ.กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)]
- ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี และเอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2566). แรงงานใกล้เกษียณในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ : ทบทวนสถานะสวัสดิการ สุขภาพ รายได้ หนี้สิน และนัยยะเชิงนโยบายเพื่อก้าวสู่ผู้สูงวัยที่มีความมั่นคง. กรุงเทพฯ : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์ และกฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2566). การศึกษาข้อเรียกร้องของกลุ่มแรงงานแพลตฟอร์มและข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนาสวัสดิการที่เหมาะสม. กรุงเทพฯ : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
ปี 2565
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์, ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี และศุภลักษณ์ บำรุงกิจ. (2565). โครงการการประยุกต์ใช้ภาษีความมั่งคั่งเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ใช้แรงงานด้วยความเป็นธรรมและยั่งยืนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันคลังสมองของชาติ.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2565). สภาวะไร้นามในโลกเทคโนโลยีสารสนเทศ” กับแนวคิดเรื่อง “จริยธรรมแบบพลเมืองและความเป็นพลเมือง” ในทัศนะทางการเมืองของอาริสโตเติล. โครงการวิจัยย่อยภายใต้ชุดโครงการวิจัยของ ชาญณรงค์ บุญหนุน และคณะ. คุณธรรมของพลเมืองในสังคมพหุวัฒนธรรม : ภราดรภาพ สิทธิ เสรีภาพและความเป็นธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
ปี 2563
- โครงการการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลนครนครปฐม ประจำปีงบประมาณ 2563 (จัดทำร่วมกันระหว่างภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรและเทศบาลนครนครปฐม)
ปี 2554
- โครงการจัดทำนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ประจำปี 2555-2559 (เป็นผู้ช่วยวิจัยในคณะทำงานฯ จัดทำร่วมกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ)
หนังสือ
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2566). สถานภาพการศึกษาพัฒนาการและแนวทางยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการธุรกิจเศรษฐกิจฐานรากภายใต้บริบททางเศรษฐกิจการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดระยะเวลา 3 ทศวรรษที่ผ่านมา : บทสังเคราะห์งานวิจัยไทยและนัยยะเชิงนโยบายที่ควรพิจารณา. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.). (กำหนดพิมพ์ภายในตุลาคม 2566)
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2566). ย้ำรอยคิด อาริสโตเติล : การเมืองโลกดิจิทัล สภาวะไร้นาม และความเป็นพลเมือง. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร (364 หน้า)
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2566). เราจะใกล้กันมากขึ้น “ในโลกที่โอบกอดทุกคนไว้” : ความเหลื่อมล้ำ ภาษีความมั่งคั่ง รัฐสวัสดิการ. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). การวิเคราะห์การเมือง: ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. (438 หน้า)
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2559). เครือข่ายสลัมสี่ภาค: การต่อสู้เพื่อความอยู่รอดภายใต้โครงการพัฒนาของรัฐไทย ตั้งแต่ปี 2500-2553. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. (197 หน้า)
งานวิชาการบางบทในหนังสือและบทความวิจัยในหนังสือรวมบทความและหนังสือแปล
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2566). หน่วยที่ 13 สถาบันสื่อมวลชน. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา 80202 สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 หน่วยที่ 11 – 15. หน้า 13-1 – 13-103. นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2565). พลวัตการต่อสู้จาก “ลงถนน” สู่ “#ปฏิวัติ” (และในทางกลับกัน): ทบทวนสถานภาพการศึกษาและพรมแดนความรู้เชิงทฤษฎีด้านขบวนการทางการเมืองและสังคมในไทย. ใน สมชาย ปรีชาศิลปกุล, อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์, และบุญเลิศ วิเศษปรีชา. (บรรณาธิการ). เดินข้ามพรมแดน : บนเส้นทางวิชาการและงานเคลื่อนไหว ในวาระ 60 ปี ประภาส ปิ่นตบแต่ง. หน้า 139-253. กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ์.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์ และคัททิยากร ศศิธรามาศ (ผู้แปล). (2565). บทที่ 4 สยามที่แตกต่าง ค.ศ. 1893 – 1952: การแทรกแซงจากภายนอกและการโอนอ่อนในการสร้างรัฐอธิปไตยไทย. ใน จา เอียน ชง. (2565). บงการอธิปไตย: การแทรกแซงจากจักรวรรดินิยมตะวันตกกับการก่อรูปของรัฐสยาม. กรุงเทพฯ: illumination editions. หน้า 139-198.
- เอกพล เสียงดัง. (2552). “ผลสะเทือนจากการต่อสู้ของขบวนการคนจนและคนด้อยอำนาจในสังคมไทย ตั้งแต่ปี 2531-2549” ใน บุญเลิศ วิเศษปรีชา (บก.), รวมบทความที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ สำหรับวิทยานิพนธ์เพื่อคนจน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา. หน้า 90-132.
บทบรรณาธิการหนังสือ
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. บรรณาธิการ. (2561). สังคมศาสตร์การพัฒนา: รวมบทความวิจัยและบทความวิชาการ ประจำปี 2561. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. (118 หน้า)
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. บรรณาธิการ. (2560). สังคมศาสตร์การพัฒนา: รวมบทความวิชาการและบทความวิจัย. กรุงเทพฯ: แดเน็กซ์อินเตอร์คอร์ปอเรชัน.
บทความวิชาการภาษาไทย
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2566). การส่งเสริมและยกระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ของไทยกับความเปลี่ยนแปลงสามทศวรรษ : ระบบ กลไก และมาตรฐานสนับสนุน. [หมายเหตุ : บทความเพื่อนำเสนอสู่สาธารณะผ่านสถานีโทรทัศน์ ThaiPBS ภายใต้ชุดโครงการของ ภาคภูมิ ทิพคุณ และคณะ. (2566). โครงการการสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยตามแผนยุทธศาสตร์ ววน. เพื่อการสื่อสารสาธารณะ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.).]
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2566). พัฒนาการการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากด้วย SMEs: จาก “ต้มยำกุ้ง” ถึง “โควิด-19”. [หมายเหตุ : บทความเพื่อนำเสนอสู่สาธารณะผ่านสถานีโทรทัศน์ ThaiPBS ภายใต้ชุดโครงการของ ภาคภูมิ ทิพคุณ และคณะ. (2566). โครงการการสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยตามแผนยุทธศาสตร์ ววน. เพื่อการสื่อสารสาธารณะ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.).]
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2561). “ยักษ์ที่เท้าทำด้วยดินเหนียว: บทวิจารณ์ของ Leo Strauss กับความง่อนแง่นขององค์ความรู้ในการวิจัยเชิงปริมาณ?” วารสารสังคมศาสตร์ 48, 1 (มกราคม – มิถุนายน): 149 – 170.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2559). “การศึกษาขบวนการคนจนกับการสร้างความเป็นประชาธิปไตยในประเทศไทย: ข้อจำกัดของแนวทางการวิเคราะห์แบบขบวนการทางการเมืองและสังคม.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 38, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม): 139-173.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2558). “การเมืองสีเสื้อกับการศึกษาขบวนการโต้กลับตามจารีตการศึกษาขบวนการทางสังคมและการเมือง.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 1 (มกราคม-มิถุนายน): 85-128.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2557). “ขบวนการมวลชนเสื้อแดงกับการปฏิวัติทางสังคมที่ไม่ถึงจุดสิ้นสุด.” วารสารวิจัยสังคม 37, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม): 45-88.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2556). “พลวัตภายในแนวการวิเคราะห์ขบวนการทางสังคม.” วารสารสังคมศาสตร์ 43, 1 (มกราคม – มิถุนายน 2556): 181-204.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2556). “ปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ขบวนการและขบวนการโต้กลับ: งานวิชาการตามจารีตการศึกษาแบบขบวนการทางสังคมและการเมืองในระดับสากล (บทสำรวจเบื้องต้น).” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 9, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 7-60.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2555). “รัฐศาสตร์กับแนวทางการศึกษาที่เหมาะสม.” วารสารการเมืองการปกครอง 2, 1 (กันยายน 2554 – กุมภาพันธ์): 162-182.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2554). “สถานะทางญาณวิทยาของสังคมศาสตร์คืออะไรกันแน่? ระหว่างวิทยาศาสตร์กับมนุษยศาสตร์.” การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 12 (พ.ศ. 2554), หน้า 345-361.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2554). “ปรัชญาการเมืองกรีกโบราณของเพลโตและอริสโตเติลกับ ‘รัฐศาสตร์สมัยใหม่’.” วิภาษา 5, 1 (16 มีนาคม-30 เมษายน): 32-46.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2554). “ญาณวิทยาที่หลากหลายของปรัชญาสังคมศาสตร์: สัมพัทธคติ (Relativism) คือ จุดจบ?” วิภาษา 5, 5 (16 กันยายน-31 ตุลาคม): 32-43.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2554). “การเปลี่ยนผ่านกระบวนทัศน์ภายในแนวการวิเคราะห์ขบวนการทางสังคม?” วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ 2, 1: 82-110.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2553). “ระบบเครือญาติในลัทธิขงจื่อกับปัญหาการคอรัปชั่น: การตีความผ่านคัมภีร์หลุนอี่ว์,” วารสารสังคมศาสตร์ 41, 1 (มกราคม-มิถุนายน): 158-196.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2553). “งานพัฒนาสิทธิที่อยู่อาศัยและสวัสดิการชุมชนของเครือข่ายสลัมสี่ภาคภายใต้โครงการพัฒนาของรัฐ” ใน หนังสือรวมบทความและงานวิจัย การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 11 (พ.ศ. 2553), หน้า 1434-1451.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2553). “ความมั่นคงของประชาธิปไตย: กรณีศึกษาเปรียบเทียบญี่ปุ่นและไทย” ใน หนังสือรวมบทความและงานวิจัย การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 11 (พ.ศ. 2553), หน้า 291-307.
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2552). “ผลสะเทือนจากการต่อสู้ของขบวนการคนจนและคนด้อยอำนาจในสังคมไทย ตั้งแต่ปี 2531-2549.” วารสารสังคมศาสตร์ 40, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 220-272.
- เอกพล เสียงดัง. (2552). “การเจรจายุติสถานะสงครามระหว่างไทยกับอังกฤษในช่วงเปลี่ยนผ่านของระเบียบโลก,” ฟ้าเดียวกัน 7, 4 (ตุลาคม-ธันวาคม): 152-181.
- เอกพล เสียงดัง. (2551). “ผลสะเทือนจากการต่อสู้ของขบวนการคนจนในสังคมไทย: การส่งผลสะเทือนซึ่งกันและกันของขบวนการคนจน” ใน หนังสือรวมบทความและงานวิจัย การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 9 (พ.ศ. 2551), หน้า 1369-1383.
สารานุกรม (บทความขนาดสั้นเผยแพร่ใน ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า)
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). “สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล.” ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. เผยแพร่วันที่ 16 สิงหาคม 2560. แหล่งที่มา http://wiki.kpi.ac.th/index.php? title=สมาชิก สภาองค์การบริหารส่วนตำบล
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). “สมาชิกสภาเมืองพัทยา.” ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. เผยแพร่วันที่ 3 สิงหาคม 2560. แหล่งที่มา http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สมาชิกสภาเมืองพัทยา
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). “สมาชิกสภาเทศบาล.” ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. เผยแพร่วันที่ 2 สิงหาคม 2560. แหล่งที่มา http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สมาชิกสภาเทศบาล
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). “สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร.” ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. เผยแพร่วันที่ 3 สิงหาคม 2560. แหล่งที่มา http://wiki.kpi.ac.th/index.php? title=สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). “การเลือกตั้งท้องถิ่น.” ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. เผยแพร่วันที่ 4 สิงหาคม 2560. แหล่งที่มา http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=การเลือกตั้งท้องถิ่น
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2560). “การเข้าชื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น.” ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. เผยแพร่วันที่ 2 สิงหาคม 2560. แหล่งที่มา http://wiki.kpi.ac.th/ index.php?title=การเข้าชื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น
ผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัล
ปี 2566
- เกียรติบัตรรางวัลเชิดชูเกียรติ ผลงานวิจัย นวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ดีเด่น ด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของคณะอักษรศาสตร์ ระหว่างปีงบประมาณ 2563 – 2565 เรื่อง “โครงการการประยุกต์ใช้ภาษีความมั่งคั่งเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ใช้แรงงานด้วยความเป็นธรรมและยั่งยืนในประเทศไทย” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์ และคณะ. ใน งานเชิดชูเกียรติด้านการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ ประจำปี 2566 จัดโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ วันที่ 8 กันยายน 2566.
ปี 2551
- เกียรติบัตรและรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับชมเชย จากวิทยานิพนธ์เรื่อง “ผลสะเทือนจากการต่อสู้ของขบวนการคนจนและคนด้อยอำนาจในสังคมไทย ตั้งแต่ปี 2531-2549” โครงการรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ สำหรับวิทยานิพนธ์เพื่อคนจน ครั้งที่ 1 โดย สถาบันสัญญา ธรรมศักดิ์ เพื่อประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2551
เกียรติบัตรและรางวัลที่ได้รับอื่น ๆ
- เกียรติบัตร “โครงการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนานักศึกษา” ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2546
- ทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รุ่นที่ 4 จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
- รางวัล “ยอดนักยืม(หนังสือ) ระดับชั้นปริญญาเอก” ในกิจกรรมวันเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalinet Fair) จัดโดย ศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2554
- ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภทบัณฑิตศึกษา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีการศึกษา 2555 ระดับปริญญาเอก กลุ่มเรื่องที่ 9 (สันติสุขและการจัดการความขัดแย้ง การสร้างสังคมที่สมานฉันท์ในประเทศ และกับประเทศเพื่อนบ้าน)
- ทุน 90 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช รุ่นที่ 18 ครั้งที่ 2/2555
ผลงานวิชาการที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
โครงการวิจัย
ดำเนินการระหว่างปี 2566 – 2567
- โครงการ “การยกระดับกลไกการเชื่อมโยงงานวิจัยและนวัตกรรมกับฝ่ายนิติบัญญัติ” โดยมี รศ.ดร. ภาคภูมิ ทิพคุณ เป็นหัวหน้าโครงการ. งบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ตามสัญญาเลขที่ ORG66F4002. ระยะเวลาดำเนินการ 1 ปี ระหว่างวันที่ 1 กันยายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567. (รับผิดชอบเป็นผู้ร่วมวิจัย)
ดำเนินการระหว่างปี 2565 – 2566
- โครงการเผยแพร่ผลงานวิจัยผ่านสื่อออนไลน์ “คน คิด ความรู้ : วิธีวิทยาและองค์ความรู้จากนักวิจัยสาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์” (โครงการย่อยเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทยระยะที่ 8) [รับผิดชอบเป็นผู้ร่วมงานวิจัย; หัวหน้าโครงการวิจัย คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ บุญหนุน และผู้ร่วมวิจัยจำนวน 10 คน ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิเศก ปั้นสุวรรณ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฟรานซีส นุตสุคนธ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิธิวดี สวัสดี, อาจารย์ตวงทิพย์ พรมเขต, อาจารย์สกนต์ ม่วงสุน, ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิพัฒน์ สุยะ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์คงกฤช ไตรยวงศ์, อาจารย์ ดร.ทศพล ศรีพุ่ม, นายนรินทร์ จันทร์ผดุง] งบประมาณจากสำนักงานคณกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 ปีงบประมาณ เริ่มตั้งแต่ 12 กรกฎาคม 2564 – 30 มิถุนายน 2566)
หนังสือและบทในหนังสือ (Book chapter)
ดำเนินการระหว่างปี 2566 – 2567
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (256x). หน่วยที่ 6 โครงสร้างเศรษฐกิจและการพัฒนากับประชาสังคมและชุมชนท้องถิ่น. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา 82712 ประชาสังคมและชุมชนท้องถิ่น สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ดำเนินการระหว่างปี 2565 – 2566
- เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (256x). ขบวนการ รัฐ และการเมืองของการต่อสู้แบบปรปักษ์. (ดำเนินการแต่งหนังสือระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2566)