ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา

Assistant Professor

KOMSAN KIRIWONGWATTANA, Ph.D.

lukhnu@hotmail.com

วุฒิการศึกษา

  • ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต (ปฐพีวิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2560)
  • Post Graduate Diploma (Remote Sensing and Geographic Information System) Indian Institute of Remote Sensing, CSSTEAP, INDIA (2555)
  • วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (การจัดการลุ่มน้ำและสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2551)
  • อักกษรศาสตร์บัณฑิต (ภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2546)

คุณวุฒิอื่นๆ

  • International Training Course on Microwave Remote Sensing (SAR) and Its Applications. Indian Institute of Remote Sensing, CSSTEAP, INDIA (2557)
  • หลักสูตรสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาชุมชน, กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, (2557)
  • International Training Course on Open Source Geospatial Tools. Indian Institute of Remote Sensing, CSSTEAP, INDIA (2555)

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  • ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์ประเทศไทย ภูมิศาสตร์ดิน อุทกภูมิศาสตร์
  • การจัดการลุ่มน้ำและสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ลักษณะพื้นพิภพ การวิเคราะห์เชิงพื้นที่
  • การแปลความหมายรูปถ่ายทางอากาศ แผนที่ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การสำรวจระยะไกล
  • แบบจำลองการชะล้างพังทลายดิน แบบจำลองการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน แบบจำลองอุตุอุทกวิทยา

วิทยานิพนธ์

  • คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. “การประเมินดินที่ได้รับผลกระทบจากเกลือด้วยลักษณะเชิงคลื่นและข้อมูลดาวเทียมแบบไฮเปอร์สเปคทรัล”. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาปฐพีวิทยา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2560.
  • คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. “การประยุกต์แบบจำลอง CLUE-S เพื่อคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมดินบริเวณลุ่มน้ำแม่หยอด อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่.” วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตมหาบัณฑิต สาขาการจัดการลุ่มน้ำและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2551.

ผลงานทางวิชาการ

ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

  • ความสัมพันธ์ระหว่างชีพลักษณ์ของป่าไม้กับความแห้งแล้งในลุ่มน้ำเพชรบุรี. กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์. 2563
  • การพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเข้าสู่ประเทศไทย 4.0. เทศบาลสมุทรสาคร. 2562
  • โครงการจัดเก็บและพัฒนาข้อมูลผลิตภัณฑ์บริการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 ไปสู่ประเทศไทย 4.0. จังหวัดอุทัยธานี. 2561
  • โครงการรวบรวมและอนุรักษ์พันธุ์ไผ่ในพื้นที่จังหวัดน่าน. สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 2561
  • การประเมินผลผังเมืองสมุทรปราการ. องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 2561.
  • โครงการวิจัยและพัฒนารูปแบบการสร้างเส้นทางท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ของจังหวัดเพชรบุรีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. ภายใต้โครงการศิลปากรพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื่อความยั่งยืนของสังคมและชุมชน ระยะที่ 3 ในแผนงานการวิจัยมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ : กลุ่มเรื่องนวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน. คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2559.
  • โครงการประเมินพื้นที่ดินที่ได้รับผลกระทบจากเกลือด้วยคุณสมบัติเชิงคลื่นและข้อมูลจากดาวเทียมแบบไฮเปอร์สเปคทรัล. ทุนอุดหนุนวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สาขาเกษตรศาสตร์. 2560
  • โครงการวิจัยและพัฒนาโปรแกรมระบบฐานข้อมูลโครงการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้และลุ่มน้ำแบบบูรณาการบนฐานชุมชนโดยการประยุกต์กลไกชดเชยตอบแทนคุณค่าของระบบนิเวศ. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2560
  • โครงการนวัตกรรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์: กรณีศึกษา อ.เมือง จ.เพชรบุรี. ภายใต้โครงการศิลปากรพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื่อความยั่งยืนของสังคมและชุมชน ระยะที่ 2 ในแผนงานการวิจัยมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ : กลุ่มเรื่องนวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน. คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.2558.
  • โครงการจำแนกพื้นที่ปลูกยางพารา จังหวัดยโสธรและอำนาจเจริญ. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสาสรสนเทศ (สทอภ.). 2558.
  • โครงการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อการวางผังเมืองรวมจังหวัดแพร่. สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดแพร่.2558.
  • โครงการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน: แบบจำลองความสูงเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนด้านแผนที่และลักษณะพื้นแผ่นดิน. มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2558.
  • โครงการศึกษาออกแบบวางผังพื้นที่เฉพาะชุมชนชายแดนบริเวณช่องทางกิ่วผาวอก อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่. สำนักงานโยธาธิการและผังเมือง จังหวัดเชียงใหม่.2558.
  • โครงการศึกษาออกแบบวางผังพื้นที่เฉพาะชุมชนชายแดนบริเวณช่องทางหลักแต่ง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่. สำนักงานโยธาธิการและผังเมือง จังหวัดเชียงใหม่.2558.
  • โครงการวิจัยและพัฒนารูปแบบการสร้างเครือข่ายการพัฒนาชุมชนของเทศบาลนครอุดรธานีสู่เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนด้วนเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. เทศบาลนครอุดรธานี. 2558
  • โครงการการออกแบบ “ชุดสัญลักษณ์”สำหรับผลิตแผนที่เชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม. กองทุนส่งเสริมการวิจัยและสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2557
  • โครงการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย. เทศบาลตำบลทับกฤช อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์. 2557
  • โครงการจัดทำแผนบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการจังหวัดอุทัยธานี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2557
  • โครงการจัดทำแผนบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการจังหวัดสุโขทัย. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2557
  • โครงการจัดทำแผนบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการจังหวัดน่าน. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2557
  • โครงการจัดทำแผนบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการจังหวัดพิจิตร. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2557
  • โครงการจัดทำแผนบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการจังหวัดตรัง. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2557
  • การประยุกต์แบบจำลอง SWAT เพื่อประเมินสถานภาพของพื้นที่ลุ่มน้ำลำภาชี. กองทุนส่งเสริมการวิจัยและสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556
  • การศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดภัยดินถล่มเพื่อจัดทำแผนที่พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม. กองทุนส่งเสริมการวิจัยและสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556
  • การเปรียบเทียบขอบเขตลุ่มน้ำที่สร้างจากชุดข้อมูลความสูง SRTM และ ASTER-GDEM กับขอบเขตลุ่มน้ำของกรมทรัพยากรน้ำ ประเทศไทย. กองทุนส่งเสริมการวิจัยและสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556
  • โครงการวิจัยและพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมของชุมชนริมคลองแสนแสบผ่านโปรแกรมประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. 2556
  • การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อประเมินพื้นที่เสี่ยงดินถล่ม. กองทุนส่งเสริมการวิจัยและสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2555
  • การประยุกต์ภูมิสารสนเทศเพื่อการประเมินปริมาณน้ำไหลบ่าหน้าดิน. กองทุนส่งเสริมการวิจัยและสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2555
  • การประเมินการชะล้างพังทลายดินด้วยแบบจำลอง RUSLE ร่วมกับภูมิสารสนเทศ. กองทุนส่งเสริมการวิจัยและสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2555
  • การศึกษาปริมาณน้ำไหลบ่าผิวดินและการชะล้างพังทลายดินเพื่อการวางแผนอนุรักษ์พื้นที่ลุ่มน้ำด้วยการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์: กรณีศึกษาลุ่มน้ำห้วยบ้านบ่อ อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี. กองทุนส่งเสริมการวิจัยและสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2555
  • Runoff and Soil Erosion Assessment for Watershed Conservation Planning – A Case Study of Asan Watershed. Indian Institute of Remote Sensing. CSSTEAP. 2012
  • โครงการ KU-Biodiesel มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) 2554
  • โครงการศึกษาความเหมาะสมในการจัดทำแนวเชื่อมต่อทางนิเวศวิทยาของผืนป่าในกลุ่มป่าที่สำคัญของประเทศไทย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2554
  • โครงการศึกษาและสำรวจเพื่อการจัดตั้งศูนย์กำจัดหรือการนำกลับมาใช้ใหม่ของเศษมูลฝอยวัสดุก่อสร้างและรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง สำนักสิ่งแวดล้อม กรุงทเพมหานคร. 2554
  • โครงการรวบรวมข้อมูลพร้อมทั้งจัดเก็บพิกัดสถานประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ กองประสานการลงทุน (กปท.) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. 2553
  • โครงการพัฒนาและบริหารฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการลงทุนด้านการท่องเที่ยว (ระยะที่ 2) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. 2553
  • โครงการกำหนดค่าดัชนีวัดความชุ่มชื้นของดิน (API) กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2553
  • โครงการจัดตั้งระบบ Early warning สำหรับพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย–ดินถล่ม ในพื้นที่ลาดชันและพื้นที่ราบเชิงเขา กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2553
  • โครงการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสียพื้นที่ฝั่งตะวันตกตำบลหัวหินและพื้นที่ตำบลหนองแก เทศบาลเมืองหัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์.2553
  • โครงการศึกษาความเหมาะสมในการประกาศเขตพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย–ศรีสัชนาลัย–กำแพงเพชร องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (อพท.). 2553
  • โครงการศึกษาความเหมาะสมในการประกาศเขตพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เมืองหัวหิน–ชะอำ และพื้นที่เชื่อมโยง องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (อพท.). 2553
  • โครงการพัฒนาและบริหารฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการลงทุนด้านการท่องเที่ยว (ระยะที่ 1) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. 2552
  • โครงการจัดตั้งระบบ Early warning สำหรับพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย–ดินถล่ม ในพื้นที่ลาดชันและพื้นที่ราบเชิงเขา กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2552
  • โครงการจัดทำแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน เทศบาลเมืองนนทบุรี. 2552
  • โครงการวางและจัดทำผังนโยบายโครงการและมาตรการ บรรเทาอุทกภัยลุ่มน้ำกก อิง กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย. 2551
  • โครงการจัดทำฐานข้อมูลและวิเคราะห์เพื่อการวางผังอนุภาค กลุ่มจังหวัดภูเก็ต กระบี่ พังงา และสุราษฎร์ธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย. 2551
  • โครงการจัดตั้งระบบ Early warning สำหรับพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย–ดินถล่ม ในพื้นที่ลาดชันและพื้นที่ราบเชิงเขา กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2551
  • โครงการการพัฒนาระบบช่วยตัดสินใจแบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วมและชุมชนเป็นศูนย์กลางบนฐานของแบบจำลองที่จากโครงการวิจัย GAME-T/GAME-C เพื่อการจัดการทรัพยากรในลุ่มน้ำเจ้าพระยาอย่างยั่งยืน (ภายใต้การดำเนินงานของศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์) คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2551
  • โครงการศึกษาศักยภาพลุ่มน้ำเพื่อจัดท้าแผนป้องกัน และฟื้นฟูในการบรรเทาความเสียหายพื้นที่ประสบภัยน้ำท่วมฉับพลันและดินถล่ม : กรณีศึกษาพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำริด อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์. คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2550

บทความวิจัย/บทความวิชาการ

ตีพิมพ์ในวารสาร

ระดับชาติ
  • ศุภฤกษ์ โออินทร์ สมคิด ภูมิโคกรักษ์ อภิเศก ปั้นสุวรรณ ยงยุทธ วิถีไตรรงค์ คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา อาคีรัต อับดุลกาเดร์ กมลพร อุปการแก้ว และอริศา จิระศิริโชติ. (2566). แนวทางการพัฒนาฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว และพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารอักษรศาสตร์และไทยศึกษา, 45(3), 1-12. Article No. 8. https://so08.tci-thaijo.org/index.php/artssu/article/view/2239
  • สมคิด ภูมิโคกรักษ์ วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ นำพวัลย์ กิจรักษ์กุล คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา เพชรลดา ชุนอ่อน และศุภฤกษ์ โออินทร์. (2564). การพัฒนารูปแบบการสร้างเส้นทางท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ของจังหวัดเพชรบุรีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 43(2), 107-122. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jasu/article/view/256247/173480
  • คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา เสาวนุช ถาวรพฤกษ์ เอิบ เขียวรื่นรมย์ และสุมิตรา วัฒนา. (2561). การประเมินสมบัติดินบางประการด้วยสถิติเชิงพื้นที่ในพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยลำพังซู ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 36(1), 60-69. https://li01.tci-thaijo.org/index.php/agritechjournal/article/view/133013
  • คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2559). การศึกษาปริมาณน้ำไหลบ่าหน้าดินและอัตราการชะล้างพังทลายดินเพื่อวางแผนอนุรักษ์พื้นที่ลุ่มน้ำขนาดเล็กด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ. Veridian E-Journal Science and Technology Silpakorn University, 3(5), 1-13. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/VESTSU/article/view/72915/58648
  • ชุลีพร สุระป้อม และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2559). การวิเคราะห์พื้นที่อ่อนไหวต่อสิ่งแวดล้อมในลุ่มน้ำลำภาชี. วารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม, 3(1), 38-49. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JEET/article/view/180659
  • คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2559). การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศร่วมกับแบบจำลอง Morgan- Morgan – Finney เพื่อคาดการณ์อัตราการชะล้างพังทลายดินในพื้นที่ลุ่มน้ำภูเขา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี, 6(1), 199-211. https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/past/article/view/243172
ระดับนานาชาติ
  • Kiriwongwattana, K., and Waiyasusri, K. (2024). Spatial Evolution of Smart Cities for Sustainable Tourism: A case study of Phuket Province, Thailand. Geojournal of Tourism and Geosites, 55(3), 1312–1320. https://doi.org/10.30892/gtg.55331-1303
  • Waiyasusri, K., Usaard, N., Kiriwongwattana, K., and Wetchayont, P. (2024). GEO-INFORMATION TECHNOLOGY APPLICATION FOR INVESTIGATING THE OLD LOPBURI RIVER AND THE ANCIENT CITY OF DVARAVATI PERIOD (6TH-8TH CENTURY AD) BASED ON THE RECORDS OF QUEENCĀMADEVI’S WATERCOURSE TRAVELS IN THE CHAO PHRAYA RIVER BASIN. SCIENTIFIC CULTURE, 10(1), 83-103. https://zenodo.org/records/10400878
  • Phumkokkrux, S., Phumkokrux, N., Kiriwongwattana, K., O-in, S., Abdulkade, A., and Muenratch, P. (2019). Development of Geographic Information System and Database Program for Supporting the Application of Payment for Ecosystem Services Mechanisms Occurs in the Local Area of Thailand. Journal of Advances in Information Technology, 10(3), 119-122. https://www.jait.us/uploadfile/2019/0823/20190823115550197.pdf
  • Garg, V., Khwanchanok, A., Prasun K. Gupta, P.K., Aggarwal, S.P., Kiriwongwattana, K., Thakur, P.K. and Nikam, B.R. (2012). Urbanisation Effect on Hydrological Response: A Case Study of Asan River Watershed, India. Journal of Environment and Earth Science, 2(9), 39-51. https://iiste.org/Journals/index.php/JEES/article/view/3047/3089

เผยแพร่ในการประชุมวิชาการ (Proceedings)

ระดับชาติ
  • มุกจรินทร์ ภัทรนุภาพร และคมสัน คีรีวงศวัฒนา. (2565, กุมภาพันธ์ 24). แนวโน้มของอุณหภูมิและปริมาณน้ำฝนในภาคตะวันตกของประเทศไทย. ใน การประชุมทางวิชาการ “ทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6”, 45-54. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (ออนไลน์) ประเทศไทย. https://staff.su.ac.th/WebRIS/Applications/File/Forms/frmFileStorage.aspx?guid=F3C443E341744F2E8A54D117CEC73EFF
  • ธนกฤต ณ ป้อมเพชร และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2565, กุมภาพันธ์ 24). วิเคราะห์พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกกัญชงในจังหวัดตาก. ใน การประชุมทางวิชาการ “ทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6”, 116-125. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (ออนไลน์) ประเทศไทย. https://staff.su.ac.th/WebRIS/Applications/File/Forms/frmFileStorage.aspx?guid=A9AE25CAA71F4D5CA5FA9CFC90C55358
  • น้ำทิพย์ วิเทียนรัมย์ และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2565, กุมภาพันธ์ 24). ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุมดินต่ออัตราการชะล้างพังทลายดินในพื้นที่ลุ่มน้ำภูเขา. ใน การประชุมทางวิชาการ “ทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6”, 25-34. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (ออนไลน์) ประเทศไทย. https://staff.su.ac.th/WebRIS/Applications/File/Forms/frmFileStorage.aspx?guid=20A6B684A30D425BAB44F0F57FDA1CC2
  • สุพัตรา กิ่งไทร และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2565, กุมภาพันธ์ 24). ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุมดินต่อปริมาณน้ำไหลบ่าหน้าดินในลุ่มน้ำภูเขา. ใน การประชุมทางวิชาการ “ทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6”, 81-91. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (ออนไลน์) ประเทศไทย. https://staff.su.ac.th/WebRIS/Applications/File/Forms/frmFileStorage.aspx?guid=B63E97F0C7864ABB88171DDC54224A7E
  • พิสิฐ จันทร์กรี และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2565, กุมภาพันธ์ 24). ความสัมพันธ์ของปริมาณตะกอน และปริมาณผลผลิตหอยแครง จังหวัดสมุทรสงคราม. ใน การประชุมทางวิชาการ “ทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6”, 101-115. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (ออนไลน์) ประเทศไทย. https://staff.su.ac.th/WebRIS/Applications/File/Forms/frmFileStorage.aspx?guid=FB3D3B0E4EAC474493EE0DFA5BBBF363
  • ฤชานนท์ โกสุข และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2565, กุมภาพันธ์ 24). การกระจายของวินมอเตอร์ไซค์รับจ้างในเขตเทศบาลเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม. ใน การประชุมทางวิชาการ “ทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6”, 17-24. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (ออนไลน์) ประเทศไทย. https://staff.su.ac.th/WebRIS/Applications/File/Forms/frmFileStorage.aspx?guid=A205C02893914F3BA724638545318AFB
  • คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา และธงชัย คตน่วม. (2563, มีนาคม 29). ความสัมพันธ์ของดัชนีพืชพรรณ NDVI และปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยวสัตว์. ใน การประชุมวิชาการนวัตกรรมด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยีเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม ครั้งที่ 3, 553-556. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, ประเทศไทย.
  • คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา กุลภรณ์ กัลยาโพธิ์ และยงยุทธ วิถีไตรรงค์. (2563, กรกฎาคม 31). การประยุกต์อากาศยานไร้คนขับเพื่อประเมินค่าปรับแก้การสะท้อนพลังงานดินที่เหมาะสมสำหรับดรรชนีพืชพรรณ Soil-Adjusted Vegetation Index (SAVI) ในพื้นที่ปลูกอ้อย. ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติ ครั้งที่ 6 (The 6th TECHCON 2020) “วิจัยและพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาชาติ“, 1-9. วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม, ประเทศไทย.
  • สราวุท ตันณีกุล และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2562, มิถุนายน 13-14). การออกแบบ “ชุดสัญลักษณ์” สำหรับผลิตแผนที่เชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม. ใน ศิลปากรวิจัยครั้งที่ 11, 10-20. ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม.
  • ศุภฤกษ์ โออินทร์ สมคิด ภูมิโคกรักษ์ อภิเศก ปั้นสุวรรณ คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา อรสา รัตนสินชัยบุญ และปุณมนัสพงษ์ ปุณประเสริฐ. (2559, กุมภาพันธ์ 11-20). การศึกษารูปแบบการสร้างเครือข่ายการพัฒนาชุมชนของเทศบาลนครอุดรธานีสู่เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน. ใน การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยและสร้างสรรค์ระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 9: บูรณาการศาสตร์และศิลป์“, 49-56. ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติฯ และหอศิลป์สนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประเทศไทย.
  • กมลพร อุปการแก้ว และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2558, กรกฎาคม 11). การประเมินปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำด้วยเทคนิคการสำรวจจากระยะไกล. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 1 “เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาชาติ” ปี 2558 (TechCon 2015). คณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม กรุงเทพมหานคร.
    ชุลีพร สุระป้อม และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2558, กรกฎาคม 11). การวิเคราะห์พื้นที่อ่อนไหวต่อสิ่งแวดล้อมในลุ่มน้ำลำภาชี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 1 “เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาชาติ” ปี 2558 (TechCon 2015). คณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม กรุงเทพมหานคร.
  • เกศรัตน์ มาศรี และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2558, กรกฎาคม 11). การประเมินผลกระทบและการจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในเขตเทศบาลตำบลบางเลน จังหวัดนครปฐม. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 1 “เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาชาติ” ปี 2558 (TechCon 2015). คณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม กรุงเทพมหานคร.
  • คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา, ชัชชัย ตันตสิรินทร์, วันชัย อรุณประภารัตน์. (2557) การประยุกต์แบบจำลอง CLUE-S เพื่อคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน ในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่หยอด อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 4. คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • ประภาวดี ศรีสุนทร และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2557, พฤศจิกายน 12-14). การเปรียบเทียบขอบเขตลุ่มน้ำที่สร้างจากชุดข้อมูลความสูง SRTM และ ASTER-GDEM กับขอบเขตลุ่มน้ำของกรมทรัพยากรน้ำ ประเทศไทย. ใน การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศแห่งชาติ: GEOINFOTECH 2014. ศูนย์ประชุมวายุภักษ์ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ และลานอเนกประสงค์ อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ กทม. ประเทศไทย.
  • วรเมธ เมธารัตนารักษ์ และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2557, พฤศจิกายน 12-14). การศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดภัยดินถล่มเพื่อจัดทำแผนที่พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม. ใน การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศแห่งชาติ: GEOINFOTECH 2014. ศูนย์ประชุมวายุภักษ์ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ และลานอเนกประสงค์ อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ กทม. ประเทศไทย.
  • พงศ์ไพบูลย์ ตุลารักษ์ และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2557, ธันวาคม 13-14). การประยุกต์แบบจำลอง SWAT เพื่อประเมินสถานภาพของพื้นที่ลุ่ม: กรณีศึกษาลุ่มน้ำลำภาชี. ใน การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 8. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
  • หิรัญปกรณ์ ปลื้มมะลัง และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2556, ธันวาคม 2-3). การประเมินการชะล้างพังทลายดินด้วยแบบจำลอง RUSLE ร่วมกับเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ. การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี. คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • พิราวรรณ จานิมิตร และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2556, ธันวาคม 2-3). การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการประเมินน้ำไหลบ่าหน้าดิน. การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี. คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • สุทัศน์ ทองเงิน และคมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2556, ธันวาคม 2-3). การประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่มด้วยเทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์. การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี. คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2557, พฤษภาคม 7). การประยุกต์แบบจำลอง CLUE-S เพื่อคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน และสิ่งปกคลุมดิน ในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่หยอด อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 4 : อัตลักษณ์แห่งเอเชีย 2014, 1-10. คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประเทศไทย.
ระดับนานาชาติ
  • Phumkokkrux, S., Phumkokrux, N., Kiriwongwattana, K., O-in, S., Abdulkade, A., Muenratch, P., and Jirasirichote, A. (2019, December 18-20). Development of GIS and Database Program on Website for Concerned Government Office for Environmental Management under PES and BioCarbon Concepts. 6th International Conference on Environmental Systems Research (ICESR 2019), 1-5. Melbourne, Australia. https://doi.org/10.1051/e3sconf/202015806004
  • Kiriwongwattana, K. (2018, February 1-2). Impacts of Land Use and Land Cover Change on Runoff and Soil Erosion in Small Watershed. The 2nd Sirindhorn Conference on Geo-informatics, 83-91. Centra by Centara Government Complex Hotel & Convention Centre, Bangkok Thailand.
  • Kiriwongwattana, K. (2015, November 4-6). Soil Erosion Assessment Using MMF Model and Geo-information in Small Watershed. International Conference on Science and Technology 2015 (TICST 2015), 91-95. Faculty of Science and Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Thailand. https://ieeexplore.ieee.org/stamp/stamp.jsp?tp=&arnumber=7369346
  • Kiriwongwattana, K. (2014, December 17-19) Site Suitable Locating for Check Dam in Small Watershed using Geographic Information System. 6th International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference. Prajaktra Design Hotel, Udon Thani, Thailand.
  • Kiriwongwattana, K., and Pirawan Janimit, P. (2013, November 1-3). Rainfall-Runoff Ratio of Small Watershed Study using NRCS-CN and Geo-informatics. 5th International Science, Social Science, Engineering and Energy Conference. Pavilion Rim Kwai Resort, Kanchanaburi, Thailand.
  • Kiriwongwattana, K., and Aggarwal, S.P. (2013, February 15-16). Runoff Assessment using Geo-Informatics Technique. The 3rd National and International SMARTS Conference, 359-368. Nakhon Pathom Rajabhat University.
  • Kiriwongwattana, K., and Aggarwal, S.P. (2012, December 11-14). Runoff and Soil Erosion Assessment for Watershed Conservation Planning- A Case Study of Asan Watershed. 4th International Science, Social Science, Engineering and Energy Conference. Cha-Am Hotel, Phetchaburi, Thailand.

เอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอน

  • คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2562).เอกสารคำสอนรายวิชา รายวิชา 416277 ภูมิศาสตร์ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย. ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. (อัดสำเนา)
  • คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา. (2559). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 416 222 แผนที่และการวางแผนการใช้ประโยชน์จากแผนที่. ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.(อัดสำเนา)