ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์

Assistant Professor

NATTAPON YURUNGRUANGSAK, Ph.D.

หัวหน้าภาควิชาประวัติศาสตร์

kajaiku@hotmail.co.th

วุฒิการศึกษา

  • อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2563)
  • อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2554)
  • วิทยาศาสตรบัณฑิต (ส่งเสริมและนิเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2550)

วิทยานิพนธ์

  • พระเครื่องกับสังคมไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึงพ..2550 ศึกษาความเชื่อ รูปแบบ และพุทธพาณิชย์ระดับผลประเมินวิทยานิพนธ์ : ดีมาก (Excellent)

ผลงานวิจัย

ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

  • ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์. (2553) “คำสอนพระยามังราย : เอกสารภูมิปัญญาล้านนาใน 100 เอกสารสำคัญ : สรรพสาระ ประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ 2 (จารึกและเอกสารภูมิปัญญาไทย), กรุงเทพฯ : โครงการวิจัย “100 เอกสาร สำคัญเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย”, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

บทความวิจัย

  • ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์. (2560). อุปาทวาทศมาส โคลงดั้น : วรรณกรรมเพชรน้ำเอกแห่งกรุงพระนครศรีอโยธยา, (ตรงใจ หุตางกูร, บรรณาธิการ) กรุงเทพฯ : โครงการพัฒนาองค์ความรู้ ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีจากเอกสาร โบราณและจารึก.
  • _______. (2558). มรดกความทรงจำแห่งนพบุรีศรีลโวทัยปุระ : ว่าด้วยโคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์ฯ และ จารึกโบราณแห่งเมืองละโว้, (ตรงใจ หุตางกูร, บรรณาธิการ) กรุงเทพฯ : โครงการพัฒนาองค์ความรู้ด้าน ประวัติศาสตร์และโบราณคดีจากเอกสารโบราณและจารึก.
  • _______. (2558). “พระยาลิไทยกับคตินิยมทางศาสนาใน มรดกความทรงจำแห่งเมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัย: ประมวลจารึกสมัยพระยาลิไทย, (ตรงใจ หุตางกูร, บรรณาธิการ) กรุงเทพฯ : โครงการพัฒนาองค์ความรู้ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีจากเอกสารโบราณและจารึก.
  • _______. (2557). “เจ้าสุภานุวงศ์ : ผู้นำกระบวนการกู้ชาติประเทศลาวใน ย้อนพินิจผู้สร้างประวัติศาสตร์ เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ 1, (วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ) กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยปริทรรศน์ประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในความสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
  • _______. (2557). “อาณาจักรจัมปา : อาณาจักรฮินดูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เบ้าหลอม อารยธรรมสำคัญของโลก 1, (วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ) กรุงเทพฯ: โครงการวิจัยปริทรรศน์ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยความสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
  • _______. (2553). “ทำเนียบสมณศักดิ์ : การจัดการคณะสงฆ์ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ใน 100 เอกสารสำคัญ : สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ 17, (วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ) กรุงเทพฯ : โครงการวิจัย “100 เอกสารสำคัญเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยในความสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

หนังสือ

  • ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์ และชำนาญ เกิดพิบูลย์. (2559). อาเซียนศึกษา, กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์ จำกัด.
  • _______. (2558). ประวัติศาสตร์ล้านนาฉบับสังเขป. โครงการจัดพิมพ์หนังสือชุดรู้รอบรอบรู้ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • _______. (2555). ประวัติศาสตร์ผ่านพระเครื่อง. โครงการตำราและหนังสือคณะอักษรศาสตร์, นครปฐม : โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

บทความทางวิชาการ

ระดับชาติ

  • ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์. (2559). “การบูรณาการวัฒนธรรมผ่านการพระศาสนาในหัวเมืองประเทศราชในสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ (..2325-2352).” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 38, 2 (.. – ..): 11-31. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)
  • _______. (2558). “ล้านนาใน ..๒๔๔๐: ภาพสะท้อนจากบันทึกของปิแอร์ โอร์ต.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร 37, 1 (..–มิ..) : 44-77. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)
  • _______. (2557). “บทบาทของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ในประวัติศาสตร์อยุธยาวารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 36, 2 (.. – ..) : 11-31. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)
  • _______. (2556). “การทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาใน 230 ปี ศรีรัตนโกสินทร์ มรดกความทรงจำ กรุงเทพมหานคร. วินัย พงศ์ศรีเพียร บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อุษาคเนย์.
  • _______. (2556). “การทำนุบำรุงบ้านเมืองในทางเศรษฐกิจใน 230 ปี ศรีรัตนโกสินทร์ มรดกความทรงจำ กรุงเทพมหานคร. วินัย พงศ์ศรีเพียร บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อุษาคเนย์.
  • _______. (2554). “พระเครื่องกับสังคมไทย ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ถึง ..2550: การศึกษาคติความเชื่อ รูปแบบ และพุทธพาณิชย์รายงานสืบเนื่องจากการประชุมเวทีวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 1 (The National SMARTS Conference I) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 28 พฤษภาคม 2554.
  • _______. (2553). “การเปลี่ยนแปลงแนวคิดของการสร้างพระเครื่องสมัยต้นรัตนโกสินทร์ถึงสงครามโลกครั้งที่ 2” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 32, 2 (.. – ..): 147-172.
  • _______. (2552). “กำเนิดพระพิมพ์และพระพิมพ์ในสมัยทวารวดีกับคติความเชื่อเรื่องปัญจอันตรธานใน ไผ่นอกกอไผ่แตกกอ. เพชรรุ่ง เทียนปิ๋วโรจน์ ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : ศักดิโสภาการพิมพ์.
  • _______. (2552). “พระดี พระดัง เมืองนครปฐมเอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องพระดี พระดัง เมืองนครปฐม จัดโดยภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์, 5 สิงหาคม 2552.

ระดับนานาชาติ

  • Natthabala Yurungruangsakdi. (2017). “The Legend of Phra That Haripunchai : The Forgotten Documents of Lanna History” Sense & Scene, Vol. 2 Issue 8, (May – June) : 48-58.