สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ
- วรรณคดีไทย
วิทยานิพนธ์
- สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. “การศึกษาเรื่องอวทาน–กัลปลตาของเกษเมนทรา : ความสัมพันธ์ของเรื่องสุธน–กินรีกับวรรณคดีไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาสันสกฤต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2550.
- ________. ” ตัวละครหญิงในบทละครพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว : สื่อในการอบรมหญิงไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษร ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2538.
ผลงานวิจัย
ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
- สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. (2558). “ความเปรียบเกี่ยวกับสุนัขและแมวในพระไตรปิฎก.” นครปฐม, ทุนอุดหนุนการวิจัยจาก คณะอักษร ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีงบประมาณ 2554.
- สมชาย สำเนียงงาม และคณะ. (2558). “โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและเสริมสร้าง ทักษะด้านการจัดการแบบบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”. นครปฐม, ทุนอุดหนุนการ วิจัยจากกรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2557.
- สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. “ความเปรียบเกี่ยวกับสุนัขและแมวในพระไตรปิฎก“. ได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัยจากคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจำปี พ.ศ. 2554.
Proceedings
ระดับชาติ
- สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. (2558). “ความเปรียบเกี่ยวกับสุนัขและแมวในพระไตรปิฎก การเชื่อมโยงความหมาย.” ใน รายงานสืบ เนื่องจากการประชุมวิชาการศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 8 : บูรณาการศาสตร์และศิลป์, ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม เฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 12 -13 ก.พ. 2558.
นานาชาติ
- สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. (2559). “การใช้ความเปรียบเกี่ยวกับสุนัขเพื่ออธิบายธรรมในพระไตรปิฎก.” ใน รายงานสืบเนื่องจากการ ประชุมวิชาการ The International Conference Commemorating the 50th Anniversary of the Department of Thai, Hankuk University of Foreign Studies, South Korea วันที่ 27 ต.ค. 2559.
- _______. (2556) “ความเปรียบเกี่ยวกับสุนัขในพระไตรปิฎก.” ในรายงานสืบเนื่องการจากการสัมมนาทาางวิชาการของสมาคม อินโด–อาเซียนศึกษา ณ มหาวิทยาลัยฮันกุ๊ก ประเทศเกาหลีใต้ วันที่ 21 มิ.ย. 2556.
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
หนังสือ ตำรา
- สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. (2547). “การอ่านบันเทิงคดี.” ใน การใช้ภาษาไทย, 188-207. จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสำราญ, บรรณาธิการ. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
บทความทางวิชาการ
ระดับชาติ
- อนุสรา ศรีวิระ และ สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. (2559). “ระบบการเล่าเรื่องในอรรถกถาจริยาปิฎก.” วารสารวิชาการ Veridian E- Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2559): 326 – 340. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2)
- อนุสรา ศรีวิระ และ สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. (2559). “กลวิธีการดัดแปลงเนื้อหาในอรรถกถาชาดกมาเป็นอรรถกถาจริยาปิฎก.” ใน รวมบทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6: อัตลักษณ์แห่งเอเชีย 2016, 896-908. คณะ วิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 17 มิ.ย. 2559.
- สุมาลี ลิ้มประเสริฐ.(2551). “สัทธรรมปุณฑรีกสูตร : พระธรรมมุ่งสู่พุทธยาน“. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 : 169 – 192.
- ________. (2549). “สุนัข (ใน) นรกตามคติพุทธ.” ใน วารวัลย์ : รวมบทความวิชาการเนื่องในวาระเกษียณ อายุราชการผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ช้างขวัญยืน, 248-264. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- ________. (2549). “ลลิตวิสตระและพุทธานุพุทธประวัติ : การศึกษาเปรียบเทียบตอนบำเพ็ญทุกรกิริยา.” ใน ภาษาและวรรณกรรมสาร, 297-367. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทยคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- ________. (2548). “ความสัมพันธ์ของชื่อและบทบาทตัวละครในมัทนะพาธา.” ใน ภาษาและวรรณกรรมสาร, 87-114. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- ________. (2547). “การสร้างเรือรบ ‘พระร่วง‘ กับบทละครพระราชนิพนธ์เรื่อง ‘มหาตมะ‘.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับการเมืองเรื่องพื้นที่. 24, 2 : 231-261.
- ________. (2546). “เพลงปี่ : เพลงชีวิตของพระอภัยมณี.” ใน ภาษาและวรรณกรรมสาร, 88-119. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- ________. (2541). “แนวคิดเรื่องการศึกษาในบทละครของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล.” ใน ทอถักอักษรา : รวมบทความทางภาษาและวรรณคดีไทย, 194-213. บาหยัน อิ่มสำราญ, บรรณาธิการ.นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ระดับนานาชาติ
- สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. (2556). “ชาดก : การอ้างถึงในกาพย์ห่อโคลงพระศรีมโหสถ.” ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการ สมาคมไทยศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี เนื่องในวาระครบ 30 ปี ภาควิชาการล่ามและการแปลภาษาไทย มหาวิทยาลัยฮันกุ๊กภาษาและกิจการต่างประเทศ สาธารณรัฐเกาหลี. 11 ต.ค. 2556.