อาจารย์ ดร. สิริชญา คอนกรีต

วิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอก สิริชญา คอนกรีต. “เพลงลูกทุ่งอีสาน : อัตลักษณ์และการเมืองเชิงวัฒนธรรมของคนอีสานพลัดถิ่น.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2556. ระดับปริญญาโท สิริชญา คอนกรีต. “การวิเคราะห์ผญาจากรายการวิทยุกระจายเสียง.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548. สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ คติชนวิทยา ผลงานวิจัย ผลงาานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิริชญา คอนกรีต. (2558). “ภาพแทนของผู้หญิงในเรื่องเล่าขำขันจากอินเตอร์เน็ต.” ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมและ พัฒนาคณะอักษรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2558. Proceedings สิริชญา คอนกรีต. (2555). “อาหารในเพลงลูกทุ่ง : การประกอบสร้างอัตลักษณ์ของคนอีสานพลัดถิ่น“. นำเสนอในงานประชุมวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น บทความทางวิชาการ ระดับชาติ สิริชญา คอนกรีต. (2558). “การเมืองของเรื่องเล่าในเพลงลูกทุ่งอีสาน.” […]
รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย ต๊ะวิชัย

การติดต่อ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขที่ 6 ถนนราชมรรคาใน ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000 วิทยานิพนธ์ ศุภชัย ต๊ะวิชัย. (2563). “คำบุพบท แก่: การศึกษาเชิงประวัติ.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศุภชัย ต๊ะวิชัย. (2549). “อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์แสดงอารมณ์โกรธในภาษาไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยลัยศิลปากร. สาขาวิชาที่สนใจ การวิเคราะห์ภาษาไทยเชิงภาษาศาสตร์ พัฒนาการของภาษาไทย อรรถศาสตร์ ผลงานทางวิชาการ ลำดับ ชื่อผลงาน ผู้แต่ง การตีพิมพ์เผยแพร่ 1 อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์แสดงอารมณ์โกรธในภาษาไทย ศุภชัย ต๊ะวิชัย วารสารอักษรศาสตร์ 29, ฉบับพิเศษ: 209-232. 2550. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1) 2 มโนทัศน์คำว่า ‘หลัง’ […]
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารียา หุตินทะ

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ วรรณกรรมปัจจุบัน วิทยานิพนธ์ อารียา หุตินทะ. “แนวคิดกุลสตรีในนวนิยายของนักเขียนสตรีเขมร.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551. อารียา หุตินทะ. “ภาพลักษณ์สังคมไทยในเรื่องสั้นไทยร่วมสมัยระหว่างพุทธศักราช 2534-2536.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตร มหาบัณฑิต หน่วยวิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538. ผลงานวิจัย ผลงานวิจัย อารียา หุตินทะและนันทวัลย์ สุนทรภาระสถิตย์. ราชบุรีในวรรณคดีการสงคราม: บทบันทึกภูมิปัญญาการสงครามในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น. งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (กำลังดำเนินการ). สร้อยสน สกลรักษ์และคณะ.(2560). การศึกษารูปแบบ วิธีการสอน และวิเคราะห์เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ของการสอนอ่าน-เขียนภาษาไทยในระดับประถมศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 9. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ และคณะ. (2558). “จิตวิญญาณ ประชาธิปไตย เรื่องสั้น 40 ปี นับจาก 14 ตุลา 2516.” ทุนอุดหนุนการวิจัย จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย […]
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี ลิ้มประเสริฐ

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ วรรณคดีไทย วิทยานิพนธ์ สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. “การศึกษาเรื่องอวทาน–กัลปลตาของเกษเมนทรา : ความสัมพันธ์ของเรื่องสุธน–กินรีกับวรรณคดีไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาสันสกฤต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2550. ________. ” ตัวละครหญิงในบทละครพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว : สื่อในการอบรมหญิงไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษร ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2538. ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. (2558). “ความเปรียบเกี่ยวกับสุนัขและแมวในพระไตรปิฎก.” นครปฐม, ทุนอุดหนุนการวิจัยจาก คณะอักษร ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีงบประมาณ 2554. สมชาย สำเนียงงาม และคณะ. (2558). “โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและเสริมสร้าง ทักษะด้านการจัดการแบบบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”. นครปฐม, ทุนอุดหนุนการ วิจัยจากกรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2557. สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. “ความเปรียบเกี่ยวกับสุนัขและแมวในพระไตรปิฎก“. ได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัยจากคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจำปี […]
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ วรรณคดีไทย วิทยานิพนธ์ ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. “ภาพลักษณ์พระมหากษัตริย์ไทยในวรรณคดีสมัยอยุธยา.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2557. ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. “ยวนพ่ายโคลงดั้น: ความสำคัญที่มีต่อการสร้างขนบและพัฒนาการของวรรณคดีประเภทยอพระเกียรติของไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556. ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล และทศพล ศรีพุ่ม. เรื่องเล่าความทรงจำเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย. ภายใต้ชุดโครงการวิจัย สมุทรสงครามศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2566. ชนัญชิดา บุญเหาะ และปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2566). “โคลงสุุภาสิตใหม่ โคลงอุภัยพากย์ และ โคลงพิพิธพากย์: ความสัมพันธ์ระหว่างโคลงสุภาษิตในหนังสือวชิรญาณวิเศษกับการสร้างข้าราชการแบบใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 5.” วารสารไทยศึกษา 19, 2 (ธันวาคม 2566): 84-116. (Tci 1) […]