อาจารย์ ดร.สุจิตรา ศิริพาณิชย์

ความถนัด ความเชี่ยวชาญ ความสนใจ วัจนปฏิบัติศาสตร์ภาษาไทย วัจนปฏิบัติศาสตร์บุคคลสัมพันธ์ (Interpersonal Pragmatics) วัจนปฏิบัติศาสตร์ข้ามวัฒนธรรม (Cross-cultural Pragmatics) วิทยานิพนธ์ สุจิตรา ศิริพาณิชย์. (2564). การทำให้ความอ่อนลงในภาษาไทย: กรณีศึกษาปริจเฉท 4 ชนิด. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ผลงานทางวิชาการ วารสารระดับชาติ สุจิตรา ศิริพาณิชย์. (2561). กลวิธีการถามประเด็นส่วนตัวด้านลบของคนดัง: กรณีศึกษารายการคนดังนั่งเคลียร์และยิ่งศักดิ์ยิ่งแซ่บ. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 35, 1 (มิถุนายน-ธันวาคม): 30-72. การประชุมวิชาการระดับชาติ ปี พ.ศ. 2565 นำเสนอผลการวิจัยเรื่อง “การทำให้ความอ่อนลงในภาษาไทย: กรณีศึกษาปริจเฉท 4 ชนิด” ในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านภาษา วรรณคดี และคติชนไทยของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา “สรรพ์วิทยา” ปี พ.ศ. 2560 นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “กลวิธีการถามประเด็นส่วนตัวด้านลบของคนดัง: กรณีศึกษารายการ คนดังนั่งเคลียร์และยิ่งศักดิ์ยิ่งแซ่บ” […]

อาจารย์ ดร.เสาวรส มนต์วิเศษ

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ ภาษาไทยสมัยเก่า สัมพันธสารภาษาไทย ภาษากฎหมาย วิทยานิพนธ์ เสาวรส มนต์วิเศษ. (2563). “ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับภาพตัวแทนผู้กระทำผิดในกฎหมายไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เข้าถึงได้จาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75798 เสาวรส มนต์วิเศษ. (2555). “การศึกษาเปรียบเทียบวิธีการนิยามความหมายศัพท์เดียวกันในพจนานุกรมของ เจ.คัสแวล และเจ.เอช.แชนด์เลอร์ กับพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. เข้าถึงได้จาก http://www.sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/4460 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น บทความทางวิชาการ เสาวรส มนต์วิเศษ. (2565). ““วันนี้กินข้าวที่ไหน”: กลวิธีการสร้างศัพท์ที่ใช้ในการชุมนุมทางการเมือง.” ใน Proceedings รวมบทความการประชุมวิชาการระดับชาติ, 172-183, การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS 11 “NEW NORMAL, NEW THINKING, NEW CHALLENGES” จัดโดย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร […]

อาจารย์ ดร.วีณา วุฒิจำนงค์

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ สัมพันธสารภาษาไทย วัจนปฏิบัติศาสตร์ภาษาไทย วิทยานิพนธ์ วีณา วุฒิจำนงค์. (2564). เรื่องเล่าความทรงจำเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิในประเทศไทย: การศึกษาปริจเฉทเรื่องเล่าและอารมณ์ขัน. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วีณา วุฒิจำนงค์. (2558). การกล่าวซ้ำคู่สนทนาในการสนทนาภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ผลงานวิชาการในลักษณะอื่น บทความทางวิชาการ ระดับชาติ วีณา วุฒิจำนงค์. (2562). กลวิธีการสร้างอารมณ์ขันในรายการจำอวดหน้าจอ. ใน กุสุมา รักษมณี (บรรณาธิการ), ภาษาสรร วรรณกรรมสาร: เนื่องในวาระ 50 ปี ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, หน้า 103-118. กรุงเทพมหานคร: หจก.สามลดา. วีณา วุฒิจำนงค์. (2561). การนิยามความหมายของคำเรียกสีในหนังสืออักขราภิธานศรับท์. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ครั้งที่ 12 “ถิ่น-โลกนิยมในมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์”, หน้า […]

อาจารย์วิมลศิริ กลิ่นบุบผา

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ การใช้ภาษาไทย ลักษณะภาษาไทย วิทยานิพนธ์ วิมลศิริ  กลิ่นบุบผา. “การศึกษาคำซ้ำเสริมรูปในภาษาไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชาภาษาไทย  บัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548. ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ และคณะ. (2559). “รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อพัฒนาการใช้ภาษาไทยสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนต้นเชื้อสายกะเหรี่ยงและมอญ.” ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2557. (ผู้ร่วมวิจัย) ________. “ภูมินามของหมู่บ้านในจังหวัดลำพูน“. ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. โอฬาร รัตนภักดี และ วิมลศิริ กลิ่นบุบผา. “ภูมินามของหมู่บ้านในจังหวัดลำปาง“. ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.). ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ วิมลศิริ กลิ่นบุบผา. (2559). “จากภาษาแม่สู่ภาษาที่สอง: ปัญหาการใช้คำและประโยคภาษาไทยของนักเรียนเชื้อสายกะเหรี่ยงและ มอญที่แสดงผ่านการวิเคราะห์ข้อผิด.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 38, 1 (ม.ค. – มิ.ย. 2559): 51-79. (ฐานข้อมูล TCI […]

อาจารย์มนทรัตม์ พิทักษ์

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ เสียงและระบบเสียง วิทยานิพนธ์ มนทรัตม์  พิทักษ์. “การวิเคราะห์ลักษะการจัดรูปแบบทางสัทวิทยาของแบบเรียนภาษาไทยสำหรับเด็กเริ่มเรียนในช่วง พ.ศ.2480-2520.” วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2542. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น บทความทางวิชาการ ระดับชาติ มนทรัตม์ พิทักษ์. (2559). “ลักษณะการจัดลำดับทางเสียงของแบบฝึกอ่านใน “หนังสืออ่านเพิ่มเติม มานะ มานี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1”.” ใน รายงานรวมบทความวิจัยและสร้างสรรค์สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยและสร้างสรรค์ ระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 9: บูรณาการศาสตร์และศิลป์“. 159-166, สถาบันวิจัยและ พัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 11-21 ก.พ. 2559. จังหวัดนครปฐม.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทรี โชติดิลก

วิทยานิพนธ์ สุนทรี โชติดิลก. (2553). การศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์โลกทีปกสารและจักกวาฬทีปนี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สุนทรี โชติดิลก. (2560). บุญ : ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในวาทกรรมที่ผลิตโดยวัดพระธรรมกาย วิทยานิพนธ์อักษรศาตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาที่เชี่ยวชาญ วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ วัจปฏิบัติศาสตร์ภาษาไทย วัฒนธรรมกับการใช้ภาษาในบริบทสังคมและความเชื่อ การภาษาในสื่อมวลชนและการประชาสัมพันธ์ ผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สุนทรี โชติดิลก. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในวาทกรรมเรื่องตลกในหนังสือพิมพ์ดุสิตสมิต. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สุนทรี โชติดิลก. (2562). พัฒนาการของคำว่า “เพิ่ง” “เสมอ” “สุด” ในสมัยรัตนโกสินทร์. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สุนทรี โชติดิลก. (2555). กลวิธีการตอบรับการตำหนิและการตอบรับการชมของนักศึกษาจีนที่เรียนภาษาไทยเป็นภาษาต่่างประเทศกับนักศึกษาไทยตามแนวการถ่ายโอนทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ระหว่างวัฒนธรรม. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏุสุราษฎร์ธานี. บทความทางวิชาการ […]

อาจารย์ ดร.นันทวัลย์ สุนทรภาระสถิตย์

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ วรรณกรรมร่วมสมัย วิทยานิพนธ์ นันทวัลย์ สุนทรภาระสถิตย์. (2547). “เรื่องสั้นบันทึกเหตุการณ์ทางการเมือง 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นันทวัลย์ สุนทรภาระสถิตย์. (2559). “การนำเสนอภาพแทนความตายในเรื่องสั้นไทยร่วมสมัย พ.ศ.2547-2556.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ มณีปิ่น พรหมสุทธิรักษ์ และคณะ. “องค์ความรู้ศิลปินแห่งชาติ : นายศักดิ์ชัย บำรุงพงษ์“. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากกระทรวงวัฒนธรรม ประจำปี พ.ศ. 2553. นันทวัลย์ สุนทรภาระสถิตย์. (2562). “เรื่องเล่ากับการสร้างอัตลักษณ์ลูกเรือประมงในเรื่องเล่าชีวิตลูกเรือประมงของประชาคม ลุนาชัย” (ทุนวิจัยส่วนตัว) ผลงานทางวิชาการ ระดับชาติ นันทวัลย์ สุนทรภาระสถิตย์. (2562). “ในกับดักของชีวิตและกลางวงล้อมของความหมาย: อัตลักษณ์และการสร้างความหมายในเรื่องเล่าชีวิตลูกเรือประมงของประชาคม ลุนาชัย.” ใน […]

อาจารย์ ดร. สิริชญา คอนกรีต

วิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอก สิริชญา คอนกรีต. “เพลงลูกทุ่งอีสาน : อัตลักษณ์และการเมืองเชิงวัฒนธรรมของคนอีสานพลัดถิ่น.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2556. ระดับปริญญาโท สิริชญา คอนกรีต. “การวิเคราะห์ผญาจากรายการวิทยุกระจายเสียง.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548. สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ คติชนวิทยา ผลงานวิจัย ผลงาานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิริชญา คอนกรีต. (2558). “ภาพแทนของผู้หญิงในเรื่องเล่าขำขันจากอินเตอร์เน็ต.” ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมและ พัฒนาคณะอักษรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2558. Proceedings สิริชญา คอนกรีต. (2555). “อาหารในเพลงลูกทุ่ง : การประกอบสร้างอัตลักษณ์ของคนอีสานพลัดถิ่น“. นำเสนอในงานประชุมวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น บทความทางวิชาการ ระดับชาติ สิริชญา คอนกรีต. (2558). “การเมืองของเรื่องเล่าในเพลงลูกทุ่งอีสาน.” […]

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย ต๊ะวิชัย

วิทยานิพนธ์ ศุภชัย ต๊ะวิชัย. (2563). “คำบุพบท แก่: การศึกษาเชิงประวัติ.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศุภชัย ต๊ะวิชัย. (2549). “อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์แสดงอารมณ์โกรธในภาษาไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สาขาวิชาที่สนใจ ภาษากับปริชาน ภาษากับวัฒนธรรม ภาษาไทยเชิงภาษาศาสตร์ ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ อรรถศาสตร์และวากยสัมพันธ์ ผลงานทางวิชาการ งานวิจัย ก. บทความวิจัยในวารสาร Sroikudrua, T, Punkasirikul, P. and Tawichai, S. (2021). “Rhetorical Strategies in Thai TEDx Talks.” International Journal of Innovation, Creativity and Change 15, 10: 361-378. (Scopus Q2) […]