อาจารย์ ดร. ยิ่งยศ บุญจันทร์

วิทยานิพนธ์ ยิ่งยศ บุญจันทร์. (2566). “ความสัมพันธ์ระหว่างกัมพูชากับไทย ระหว่าง ค.ศ. 1955-1970: ศึกษาผ่านทรรศนะสมเด็จพระอุปยุวราชนโรดมสีหนุ.” วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. [ระดับดีมาก (Excellent)] ยิ่งยศ บุญจันทร์. (2561). “แนวคิดเกี่ยวกับความเป็นชาติและการเคลื่อนไหวด้านชาตินิยมของปัญญาชนเขมร ค.ศ. 1930-1955.” วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. [ระดับดีมาก (Excellent)] ความสนใจทางวิชาการ ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยุคอาณานิคม ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประวัติศาสตร์กัมพูชาสมัยใหม่ ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ชุลีพร วิรุณหะ, วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ, ภัธทรา โต๊ะบุรินทร์, ยิ่งยศ บุญจันทร์ (ผู้ช่วยวิจัย). (2564). โครงการศุลกสถาน (Old Custom House) ในฐานะพื้นที่ความทรงจำ (Site of Memory): การสืบค้น-ประมวลข้อมูลและพัฒนาเนื้อหาประวัติศาสตร์เพื่อการจัดการเชิงพิพิธภัณฑ์และสื่อสารเทศ, ได้รับทุนสนับสนุนจากบริษัท ทีวีบูรพา […]

อาจารย์ ดร.ฐนพงศ์ ลือขจรชัย

วิทยานิพนธ์ ฐนพงศ์ ลือขจรชัย, “เมื่อจักรพรรดิราชหลั่งน้ำตา: ปัญหาการได้และเสียดินแดนของสยาม” วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2565 – ระดับผลประเมินวิทยานิพนธ์ : ดีมาก ฐนพงศ์ ลือขจรชัย, “ปัจจัยที่มีผลต่อการตกลงพรมแดนในดินแดนมลายูระหว่าง สยามและอังกฤษในสนธิสัญญาปี ค.ศ.1909” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2560. – ระดับผลประเมินวิทยานิพนธ์ : ดีมาก และได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับ ดี. หนังสือและบทความในหนังสือ ฐนพงศ์ ลือขจรชัย, ชิงแดนแม่น้ำโขง: ประวัติศาสตร์เสียดินแดนฉบับวิวาท(กรรม) (กรุงเทพฯ: มติชน, 2567). ฐนพงศ์ ลือขจรชัย, “ระบบเขตแดนรัฐจารีตของสยาม,” iHumanities: เทคโนโลยี สุขภาพ และชีวิต, บรรณาธิการโดย ณฐิกา ครองยุทธ (กรุงเทพฯ: ศยามปัญญา, 2565). ฐนพงศ์ ลือขจรชัย (บรรณาธิการ), […]

อาจารย์ตวงทิพย์ พรมเขต

วิทยานิพนธ์ ตวงทิพย์ พรมเขต. “แนวคิดและยุทธศาสตร์ทางการเมืองของ ดี. เอ็น. ไอดิต ในช่วง ค.ศ. 1951-1965.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558. ความสนใจทางวิชาการ ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยุคปัจจุบัน ประวัติศาสตร์อินโดนีเซียสมัยใหม่ ประวัติศาสตร์ภาคใต้ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น หนังสือ ตวงทิพย์ พรมเขต. D.N. Aidit ทีปะ นุสันตารา ไอดิตกับพรรคคอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซีย. กรุงเทพฯ: Illuminations Editions, 2563. บทความวิจัย ตวงทิพย์ พรมเขต. “‘กวาดล้างให้สิ้นซาก’: การเมืองอินโดนีเซีย หนังสือพิมพ์ฝ่ายขวา และการสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ระหว่างปี 1965–1966.” วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 47 (มกราคม–ธันวาคม 2565): 74-95. บทความทางวิชาการ ตวงทิพย์ พรมเขต. “เครือข่ายการค้าปีนัง-ภูเก็ต-ตรัง เหมืองแร่ และชาวจีนโพ้นทะเล (ทศวรรษ 1910 ถึงทศวรรษ […]

อาจารย์ ดร.รัชตพงศ์ มะลิทอง

ประวัติการทำงาน อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (2562 – ปัจจุบัน) คณะบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร์สากล ภูมิภาคยุโรป สำนักราชบัณฑิตยสภา (2562 – ปัจจุบัน) วิทยานิพนธ์ Rachatapong Malithong. “News from “Burmah”: The Role of the English Press in the Making of the British Empire in Burma.” PhD Thesis, University of Manchester (2018). _____. “The Role of the Calcutta Press in the Commencement of the Second Anglo-Burmese War.” […]

อาจารย์ ดร.เพชรดา ชุนอ่อน

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น บทความทางวิชาการ เพชรดา ชุนอ่อน. (2559). “พุทธาวตารของพระวิษณุกับพัฒนาการของศาสนาฮินดูในอินเดียระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 4- 8.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 38, 1 (ม.ค. – มิ.ย.): 43-77. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)

อาจารย์ ดร.พิภู บุษบก

ตำแหน่งงานในปัจจุบัน 2561 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผลงานทางวิชาการ งานวิจัย ศุภการ สิริไพศาล และพิภู บุษบก. รายงานการวิจัยการแปลและศึกษาเอกสารจีนโบราณเกี่ยวกับไทยในบริบทของเส้นทางสายไหม. สนับสนุนโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2560. พิภู บุษบก. รายงานการวิจัย เรื่อง เอกสารจีนสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงที่เกี่ยวกับไทย. สนับสนุนโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2562. หนังสือ พิภู บุษบก. พัฒนาการของกลุ่มทุนจีนในภาคอีสานตอนบนของประเทศไทย พ.ศ.2474-2559. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2560. บทความ พิภู บุษบก. “ตุนหวง: ดินแดนแห่งพระพุทธศาสนาในประเทศจีน.” วารสารอักษรศาสตร์ 34, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2555): 183-212. พิภู บุษบก. “พระนางซูสีไทเฮากับประเด็นข้อโต้แย้งทางประวัติศาสตร์.” วารสารอักษรศาสตร์ 35, 1 (มกราคม – มิถุนายน […]

รองศาสตราจารย์ ดร.วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ ประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยา ประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประวัติศาสตร์เอเชียใต้ วิทยานิพนธ์ วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ. “ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศอินเดีย พ.ศ. 2493-2529.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535. ________. “กลุ่มคนที่สัมพันธ์กับการค้าในสังคมอยุธยา พ.ศ. 2172-2310.” วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณทิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548. ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ มณีปิ่น  พรหมสุทธิรักษ์ และคณะ. “โครงการเครือข่ายความร่วมมือหลักสูตรอาเซียนด้านการท่องเที่ยว : การจัดทำแผนการฝึกอบรม (course Syllabus) และสื่อประสมประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร House Keeping: Floor Supervisor”. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ประจำปี พ.ศ. 2554. ________. “การศึกษา ค้นคว้า และจัดทำข้อมูลของอดีตนายกรัฐมนตรี จำนวน 10 ท่าน“. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ประจำปี พ.ศ. 2554. วรางคณา […]

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรพร ภู่พงศ์พันธุ์

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ ประวัติศาสตร์อยุธยา วิทยานิพนธ์ วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. “กฎมณเทียรบาลในฐานะหลักฐานประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยาถึง พ.ศ. 2348.” วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549. วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. “ความเป็นสังคมนานาชาติของพระนครศรีอยุธยาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงค.ศ. 1767.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2542. ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ชุลีพร วิรุณหะ, วรพร ภู่พงศ์พันธุ์, พวงทิพย์ เกียรติสหกุล, วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ และเพชรดา ชุนอ่อน. (2560). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการจัดการข้อมูลประวัติศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการ นำไปประยุกต์ใช้พัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของอำเภอเมืองเพชรบุรี. กรุงเทพฯ : ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. มณีปิ่น พรหมสุทธิรักษ์ และคณะ. (2554). “โครงการเครือข่ายความร่วมมือหลักสูตรอาเซียนด้านการท่องเที่ยว: การจัดทำ แผนการฝึกอบรม (course Syllabus) และสื่อประสมประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร House Keeping: […]

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พวงทิพย์ เกียรติสหกุล

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ ประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ ประวัติศาสตร์การทูตไทย ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่น วิทยานิพนธ์ พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. “บทบาทของชาวจีนและชาวตะวันตกต่อกิจการเหมืองแร่ดีบุกของมณฑลภูเก็ตตั้งแต่ต้นพุทธศตวรรษที่ 25 –พ.ศ.2474.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2534. _______. “กองทัพญี่ปุ่นกับทางรถไฟสายใต้ของไทย สมัยสงครามมหาเอเชียบูรพาระหว่าง พ.ศ. 2484-2488.” วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547. ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. (2564). “การศึกษาของพระบรมวงศานุวงศ์ในประเทศฝรั่งเศส สมัยรัชกาลที่ 5 – รัชกาลที่ 7.” ใน สองศตวรรษแห่งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทย, 57-90. โครงการวิจัย 2 ศตวรรษแห่งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทย ได้รับการสนับสนุนการวิจัยจากวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. ชุลีพร วิรุณหะ, วรพร ภู่พงศ์พันธุ์, พวงทิพย์ เกียรติสหกุล, วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ และเพชรดา ชุนอ่อน. […]

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์

วิทยานิพนธ์ พระเครื่องกับสังคมไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึงพ.ศ.2550 ศึกษาความเชื่อ รูปแบบ และพุทธพาณิชย์ระดับผลประเมินวิทยานิพนธ์ : ดีมาก (Excellent) ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์. (2553) “คำสอนพระยามังราย : เอกสารภูมิปัญญาล้านนา” ใน 100 เอกสารสำคัญ : สรรพสาระ ประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ 2 (จารึกและเอกสารภูมิปัญญาไทย), กรุงเทพฯ : โครงการวิจัย “100 เอกสาร สำคัญเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย”, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) บทความวิจัย ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์. (2560). อุปาทวาทศมาส โคลงดั้น : วรรณกรรมเพชรน้ำเอกแห่งกรุงพระนครศรีอโยธยา, (ตรงใจ หุตางกูร, บรรณาธิการ) กรุงเทพฯ : โครงการพัฒนาองค์ความรู้ ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีจากเอกสาร โบราณและจารึก. _______. (2558). มรดกความทรงจำแห่งนพบุรีศรีลโวทัยปุระ : […]