สาขาวรรณศิลป์
ตัวอย่างบทวิจารณ์คัดจากสรรนิพนธ์สาขาวรรณศิลป์
เนื่องจากสรรนิพนธ์ของโครงการ “การวิจารณ์ในฐานะพลังทางปัญญาของสังคมร่วมสมัย” ของแต่ละสาขาอาจจะหาได้ยากและไม่แพร่หลายนัก โครงการวิจัย “การวิจารณ์ศิลปะ : รอยต่อระหว่างวัฒนธรรมลายลักษณ์และวัฒนธรรมเสมือนจริง” จึงเห็นควรว่าน่าจะคัดสรรบทวิจารณ์ในสรรนิพนธ์ของแต่ละสาขา สาขาละ 10 ชิ้น เพื่อนำเสนอเป็นตัวอย่างของบทวิจารณ์
สามารถคลิกที่ชื่อบทความ เพื่อเข้าไปอ่านได้
ที่ | รายชื่อบทวิจารณ์/บทความ | ผู้วิจารณ์ | ผู้วิเคราะห์ |
1. | ผู้ดี | นิลวรรณ ปิ่นทอง | รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ |
2. | โคลงห้า … มรดกทางวรรณคดีไทย | จิตร ภูมิศักดิ์ | ชมัยภร แสงกระจ่าง |
3. | จาก Gothic Fiction ถึง “เงาอุบาทว์” | สุชาติ สวัสดิ์ศรี | ชมัยภร แสงกระจ่าง |
4. | ศัตรูที่ลื่นไหล : แง่มุมหนึ่งของวรรรกรรมไทยร่วมสมัย | เจตนา นาควัชระ | รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ |
5. | มาลัย ชูพินิจ เหตุผลของความรักกับนวนิยายไทย | นิธิ เอียวศรีวงศ์ | ชมัยภร แสงกระจ่าง |
6. | “ญ่า” นิทานร้อยแก้วแห่งพุทธศตวรรษที่ 25 | ธเนศ เวศร์ภาดา | อรพินท์ คำสอน |
7. | ผู้หญิงของเฮมิงเวย์ ใน “แมวกลางสายฝน” | ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ | รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ |
8. | มีอะไรใน “ลูกอีสาน” | นพพร ประชากุล | รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ |
9. | ทำไมวรรณกรรมสะท้อนสังคมจึงแก้ปัญหาสังคมไม่ได้ สืบเนื่องจากคำถาม “ทำไมวรรณกรรมสะท้อนสังคมจึงแก้ปัญหาสังคมไม่ได้” | นพพร ประชากุลดวงมน จิตร์จำนงค์ | รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ |
10. | มรณกรรมของผู้แต่ง | โรลองด์ บาร์ธส์(ธีรา สุชสวัสดิ์ ณ อยุธยา ผู้แปล) |
เจตนา นาควัชระ |