เอกสารจากการสัมมนาทางวิชาการ “การวิจารณ์วรรณกรรมแนวนิเวศ (ecocriticism) : หลากแง่หลายมุมจากวรรณกรรมไทยและวรรณกรรมต่างประเทศ
เอกสารจากการสัมมนาทางวิชาการ
“การวิจารณ์วรรณกรรมแนวนิเวศ (ecocriticism) :
หลากแง่หลายมุมจากวรรณกรรมไทยและวรรณกรรมต่างประเทศ
วันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน 2559
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร กรุงเทพมหานคร
บทความทางวิชาการของ ผศ.ดร.ดารินทร์ ประดิษฐทัศนีย์ รศ.ดร.ธัญญา สังขพันธานนท์
และ ผศ.สรวณี สุขุมวาท จะได้จัดพิมพ์ในหนังสือรวมบทความทางวิชาการทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
ซึ่งจะได้จัดพิมพ์เผยแพร่ต่อไป
ดาวน์โหลดเอกสาร | |
รศ.ดร.ตรีศิลป์ บุญขจร
การบรรยายพิเศษเรื่อง “ปลูกต้นไม้ในใจคน: การเรียนการสอนวรรณคดีแนวนิเวศสำนึก” |
ปลูกต้นไม้ในใจคน |
ผศ.ดร.ดารินทร์ ประดิษฐทัศนีย์
การบรรยายเรื่อง “การวิจารณ์วรรณกรรมแนวนิเวศ (ecocriticism) : บทนำเบื้องต้น” |
การวิจารณ์วรรณกรรมแนวนิเวศ |
รศ.ดร.ธัญญา สังขพันธานนท์
การบรรยายเรื่อง “ใช่เพียงเดรัจฉาน: สัตวศึกษาในมุมมองของการวิจารณ์เชิงนิเวศ” |
ใช่เพียงเดรัจฉานฯ |
ผศ.ศรวณี สุขุมวาท
การบรรยายเรื่อง “สตรีนิยมและการคลี่คลายสู่จิตวิญญาณหญิงผ่านภาพผู้หญิงในงานกวีนิพนธ์ มาร์ช เพียรซี” |
สตรีนิยมและการคลี่คลายสู่จิตวิญญาณหญิง |
อ.ดร.ชัยยนต์ ทองสุขแก้ง
เสนองานวิจัย “Moortown Diary: ขนบวรรณศิลป์กสิกรรมและบทกำสรวลท้องทุ่งในบทกวีของเท็ดฮิ้วส์” |
ขนบวรรณศิลป์กสิกรรมฯ |
นายทนง จันทะมาตย์
เสนองานวิจัย “อ่านผู้ใหญ่ลีกับนางมา” ผ่านสายตาการวิจารณ์เชิงนิเวศ |
อ่านผู้ใหญ่ลีกับนางมา |
คุณวิศรุต ไผ่นาค
เสนองานวิจัย “การเยียวยาสถานที่และตัวตน : การรับรู้ใหม่เชิงนิเวศและภูมิทัศน์แห่งความผูกพันในนวนิยายเรื่อง Animal Dreams ของ Barbara Kingsolver” |
|
บรรจง บุรินประโคน
เสนองานวิจัย “ตัวตนเชิงนิเวศของเรวัตร์ พันธุ์พิพัฒน์ในกวีนินพธ์แม่น้ำที่สาบสูญ” |
ตัวตนเชิงนิเวศ |
วันวิสา เสาร์ใจ
เสนองานวิจัย “มุมมองสตรีนิยมเชิงนิเวศในวรรณกรรมชนพื้นเมืองอเมริกัน “The Birchbark House” และ “The Porcupine Year”” |
|
นางสาวอรวรรณ ฤทธิ์ศรีธร
เสนองานวิจัย “เอื้องแสนเพ็ง” : ตำนานท้องถิ่นกับนัยเชิงนิเวศในนวนิยายเรื่องฤดูดาว |
เอื้องแสนเพ็ง |
วศินรัฐ นวลศิริ
เสนองานวิจัย “‘ความเป็นพลเมืองระหว่างวัฒนธรรม’ ในการสอนวรรณกรรมเรื่อง The Hungry Tide ของ Amitav Ghosh” |
ความเป็นพลเมืองระหว่างวัฒนธรรม
|