เพลงกระบี่ไร้เทียมทานของ ซาราห์ ชาง กับปัญหาการเติบโตของหนูน้อยมหัศจรรย์

เพลงกระบี่ไร้เทียมทานของ ซาราห์  ชาง กับปัญหาการเติบโตของหนูน้อยมหัศจรรย์ (ที่มา:  กรุงเทพธุรกิจ  (จุดประกาย). วันที่ 8 กรกฎาคม 2552, หน้า 4) (http://www.manager.co.th/Entertainment/ViewNews.aspx?NewsID=9520000056604) เจตนา  นาควัชระ นักฟังเพลงคลาสสิ […]

» Read more

สายใยความสัมพันธ์ระหว่างศิษย์กับครูในการแสดงของ Roland Baldini กับกลุ่ม Pro Musica

สายใยความสัมพันธ์ระหว่างศิษย์กับครูในการแสดงของ Roland Baldini กับกลุ่ม Pro Musica วฤธ วงศ์สุบรรณ นี่เป็นปีที่ 3 แล้ว ที่ผมติดตามรับชมกลุ่มดนตรี Pro Musica ในโปรแกรมเชมเบอร์มิวสิคที่หลากหลายและน่าสนใจ ซึ่งในปีนี้เริ่มต้นด้วยการแสดงของกลุ่มเล็กประกอบด […]

» Read more

บันทึกการเสวนา รางวัลวรรณกรรมกับสภาวะการอ่านในสังคมไทย

ห้องสมุดศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ร่วมกับ โครงการวิจัย “เครือข่ายการวิจารณ์ศิลปะ: การวิจัยและพัฒนา” (สกว) จัดเสวนาเรื่อง รางวัลวรรณกรรมกับสภาวะการอ่านในสังคมไทย วันวันพฤหัสบดีที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ เวลํา ๑๓.๐๐–๑๕.๓๐ น. วิทยากรโดย อาจารย์อาท […]

» Read more

The Silpakorn String Orchestra at Chiang Mai University – Sunday February 21st 2559

The Silpakorn String Orchestra at Chiang Mai University – Sunday February 21st 2559 ©Jean-Pierre Kirkland2559 ผู้เขียนบทวิจารณ์เป็นนักวิชาการดนตรี (musicology) ที่มาพำนักอยู่ในเชียงใหม่ และเฝ้าติดตามกิจกรรมด้านดนตรีคลาสสิกในประเทศไทยอย่างใกล้ชิด อีกท […]

» Read more

ว่าด้วยโอกาสของวาทยกรและนักแสดงเดี่ยวชาวไทย

ว่าด้วยโอกาสของวาทยกรและนักแสดงเดี่ยวชาวไทย วฤธ วงศ์สุบรรณ             ผมได้รู้จักและติดตามผลงานของ ดร.ธนพล เศตะพราหมณ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาการอำนวยเพลงวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล มาสักระยะหนึ่งแล้ว โดยเริ่มจากการได้ฟัง pre-concert talk ขอ […]

» Read more

หนังสือใหม่ จุดยืนของมนุษยศาสตร์

หนังสือใหม่ จุดยืนของมนุษยศาสตร์ จุดยืนของมนุษยศาสตร์ หนังสือเล่มล่าสุดของ เจตนา นาควัชระ อาจเรียกได้ว่าเป็นคำประกาศลัทธิ (manifesto) ของนักวิชาการที่พยายามจะทำหน้าที่เป็นตัวแทนของกลุ่มวิชา ซึ่งในปัจจุบันอาจจะจัดเข้าอยู่ในประเภทของ“ดักดานวิทยา”ได้ เพ […]

» Read more

วงการดนตรีอยู่ได้ด้วยผู้รักสมัครเล่น: กรณีตัวอย่างจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วงการดนตรีอยู่ได้ด้วยผู้รักสมัครเล่น: กรณีตัวอย่างจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วฤธ วงศ์สุบรรณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นมหาวิทยาลัยที่ไม่มีคณะที่สอนวิชาทางดนตรีเป็นวิชาเอก ไม่ว่าจะเป็นด้านการแสดงดนตรีหรือวิชาการดนตรี ดังนั้น จึงไม่มีนักศึกษาที่เข้ามาเรีย […]

» Read more
1 9 10 11 12 13 35